กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2567 ”
เทศบาลตำบลบ้านสวน



หัวหน้าโครงการ
นางกัญญาภัค สว่างรัตน์




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2567

ที่อยู่ เทศบาลตำบลบ้านสวน จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3325-4-1 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลตำบลบ้านสวน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์ และครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และซ่อมแซมครุภัณฑ์ (2) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่1/2567 (3) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/67 (4) กิจกรรมประชุมอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/67 (5) ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (6) จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ติดตามการทำงาน CM,CG ครั้งที่ 2 (7) จัดประชุมชี้เเจงการทำงานคณะอนุกรรมการ LTC / CM,CG ครั้งที่ 1 (8) ประชุมคณะกรรมการบริหารนกองทุนฯครั้งที่ 4/2567 (9) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และจัดทำแผนสุขภาพตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567 (10) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่5/2567 และเวทีคืนข้อมูลกองทุน (11) ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 1/67 (12) ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 2/67 (13) ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 5/2567และเวทีคืนข้อมูลกองทุน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรดำเนินโครงการต่อเนื่อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสานและกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงได้มีการประชุมระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อยกร่างหลักเกณฑ์การสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน จึงได้จัดทำ “โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ประจำปี 2567” ขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนากองทุนให้ดำเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
  6. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์ และครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และซ่อมแซมครุภัณฑ์
  2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่1/2567
  3. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/67
  4. กิจกรรมประชุมอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/67
  5. ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
  6. จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ติดตามการทำงาน CM,CG ครั้งที่ 2
  7. จัดประชุมชี้เเจงการทำงานคณะอนุกรรมการ LTC / CM,CG ครั้งที่ 1
  8. ประชุมคณะกรรมการบริหารนกองทุนฯครั้งที่ 4/2567
  9. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และจัดทำแผนสุขภาพตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567
  10. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่5/2567 และเวทีคืนข้อมูลกองทุน
  11. ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 1/67
  12. ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 2/67
  13. ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 5/2567และเวทีคืนข้อมูลกองทุน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน มีความต่อเนื่อง สามารถใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายกองทุน
  2. คณะกรรมการกองทุนมีศักยภาพและมีความพร้อมในการบริหารกองทุนฯ
  3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 1/67

วันที่ 2 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 1ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษาโดยมีรายละเอียด - พิจารณาอนุมัติโครงการงบบริหารจัดการกองทุน ประเภทที่ 4 ปี2567 - พิจารณาอนุมัติแผนการเงิน แผนสุขภาพ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านสวน ปี 2567 - สรุปผลการดำเนินงานโครงการปีงบประมาณ 2566 - สรุปผลการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านสวน ปี 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้ประชุมคณะกรรมการกองทุน -ได้อนุมัติแผนการเงิน แผนสุขภาพ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านสวน ปี 2567 -ได้ทราบผลการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านสวน ปี 2566

 

0 0

2. กิจกรรมประชุมอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/67

วันที่ 24 มกราคม 2567 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมอนุกรรมการกองทุนฯเพื่อกลั่นกรองโครงการปี2567 มีผู้ร่วมประชุมเป็นผู้เสนอขอรับงบประมาณ มีโครงการเสนอเข้าพิจารณาจากอนุกรรมการกลั่นกรองจำนวน 12 โครงการ มีค่าใช้จ่ายดังนี้ -ค่าตอบแทนอนุกรรมการ 300 บาท8คน = 2,400 บาท -ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 100 บาท10 คน=1,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุม 18 คน*25 บาท=450 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้มีการประชุมอนุกรรมการกองทุน44 -อนุกรรมการได้กลั่นกรองโครงการทั้ง 12 โครงการ

 

0 0

3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 2/67

วันที่ 31 มกราคม 2567 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมคณะกรรมการและผู้เข้าร่วมประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน สปสช. โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ 400 บาท17 คน = 6,800 บาท - ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 100 บาท10 คน = 1,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 27 คน*25 บาท = 675 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้มีการประชุมคณะกรรมการ เข้าร่วมประชุม 15 คน ลาประชุม 2 คน ผู้เข้าร่วมประชุม 12 คน - โครงการได้รับการอนุมัติ 12 โครงการ

 

0 0

4. ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3

วันที่ 17 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯเพื่อรับรองการเงินงวดที่ 2 /ติดตามความก้าวหน้าโครงการที่อนุมัติทั้ง 12 โครงการ โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าตอบแทนคณะกรรมการ 400 บาท17 คน=6,800 บาท - ค่าตอบเเทนผู้เข้าร่วมประชุม 100 บาท 6 คน = 600 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 23 คน*25 บาท = 575 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ประชุมคณะกรรมการกองทุน (โดยคณะกรรมการเข้าร่วมประชุม 14 คน ลาประชุม 3 คน ผู้เข้าร่วมประชุม 4 คน ลาประชุม 2 คน)
  • ได้ติดตามความก้าวหน้าโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุน

 

0 0

5. จัดประชุมชี้เเจงการทำงานคณะอนุกรรมการ LTC / CM,CG / คณะกรรมการศูนย์ฟื้นฟูฯ ครั้งที่ 1

วันที่ 10 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่ง (LTC) และผู้เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ แผนการดูเเลรายบุคคล รวมถึงค่าใช้จ่ายตามแผนการดูเเลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ดำเนินการวางแผนโดย CM ในเวป Localfund และ เพื่อพิจารณาจำนวนผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มเติม -ทาง รพ.สต.บ้านดอนศาลา เสนอแผนเพิ่มเติม 6 ราย -ทาง รพ.สต.บ้านปากคลอง เสนอแผนเพิ่มเติม 8 ราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC /CM/Cgและคณะกรรมการศุนย์ฟื้นฟูฯ
  • ได้อนุมัติแคร์แพลนเพิ่มเติม 14 ราย
  • ได้ติดตามปัญหาการดูเเลคนไข้รายเก่าจาก CM/Cg

 

0 0

6. ประชุมคณะกรรมการบริหารนกองทุนฯครั้งที่ 4/2567

วันที่ 11 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องโดยมีวาระดังนี้
1. การรับรองรายงานการเงินงวดที่ 3
2. การพิจารณาอนุมัติโครงการ
3. การติดตามความก้าวหน้าของโครงการที่ผ่านมาท้ง 12โครงการ โดยตัวแทนจาก รพ.สต.ได้ชี้เเจงความก้าวหน้าโครงการ
4. การทบทวน/ปรับทำแผนสุขภาพปี 2567
โดยมีการเสนอโครงการผ้าอ้อมเพิ่มเติมจำนวน 2 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 4
  • ได้รับรองการเงินงวดที่ 3
  • ได้พิจารณาอนุมัติโครงการเพิ่มเติม 2 โครงการ

 

0 0

7. ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 5/2567และเวทีคืนข้อมูลกองทุน

วันที่ 25 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง โดยมีวาระดังนี้ 1.เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว 2.รับรองรายงานการเงินงวดที่ 4 และรายงานการเงินปี 2567 3.ให้ความเห็นชอบแผนการเงินปี 2568 4.เวทีคืนข้อมูลกองทุนจากผู้ขอรับทุน 5.จัดทำแผนงานสุขภาพตำบลปี2568และอนุมัติโครงการบริหารจัดการกองทุน 6.พิจารณาแต่งตั้งอนุกรรมการ(กลั่นกรอง/ติดตามประเมิน/LTC) โดยมีค่าใช้จ่าย ดังนี้ - ค่าประชุมคณะกรรมการฯ 400 บาทx 17 คน= 6800 บาท - ค่าประชุมอนุกรรมการฯ 300 บาทx 8 คน= 2400 บาท - ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 100 บาท x 15 คน=1500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมประชุมและเจ้าหน้าที่ๆเกี่ยวข้อง 40 คน x25 บาท = 1000 บาท ]

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ตามหน้าที่ข้อ.16) 1. รายงานการเงินงวดที่ 4 และรายงานการเงินปี 2567 ได้รับการรับรอง 2. แผนการเงินปี 2568 ผ่านการเห็นชอบ 3. เห็นความก้าวหน้าของโครงการ โครงการที่กำลังดำเนินการ และ โครงการล่าช้าจะต้องเร่งรัด หรือขยายเวลา โครงการที่ยังไม่ดำเนินการ ต้องให้ยุติ และคืนเงิน 4. ได้จัดทำแผนสุขภาพปี 2568 5 ได้อนุกรรมการตามต้องการ

 

0 0

8. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และจัดทำแผนสุขภาพตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567

วันที่ 27 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทบทวน ฟื้นฟูระเบียบการบริหารกองทุน แก่กรรมการ/อนุกรรมการ/และภาคีผุ้รับทุน คณะกรรมการกองทุน 17 ท่าน/อนุกรรมการกองทุน 8 ท่าน/อนุกรรมการ LTC 11 ท่าน โดยวิทยาจากเขต12 สงขลา ทบทวน ปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์ของแผนงานรายประเด็น ทบทวน ฟื้นฟูการเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ ผ่านเว็บ Localfund ค่าใช้จ่าย 1.ค่าวิทยากร 1 ท่าน จำนวน 6 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3600 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมประชุมและวิทยากร จำนวน 27 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1350 บาท 4.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 27 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 2700 บาท 5.ค่าวัสดุ จำนวน 27 คนๆละ 20 บาท เป็นเงิน 540 บาท โดยมีคณะกรรมการกองทุน 17 ท่าน อนุกรรมการกองทุน 8 ท่าน อนุกรรมการ LTC 101 ท่าน ผู้เข้าร่วมประชุมภายนอก 5 ท่าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ อนุกรรมการ LTC ภาคีผู้รับทุน มีความรู้ความเข้าใจในส่วนที่เกียวข้องได้ดี โดยเฉพาะประกาศฉบับล่าสุด 2567 และแผนการดำเนินงานปี 2568

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
3.00 100.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
20.00 20.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
9.00 9.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
12.00 14.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น
50.00 80.00

 

6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
3.00 4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์ และครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และซ่อมแซมครุภัณฑ์ (2) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่1/2567 (3) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/67 (4) กิจกรรมประชุมอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/67 (5) ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (6) จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ติดตามการทำงาน CM,CG ครั้งที่ 2 (7) จัดประชุมชี้เเจงการทำงานคณะอนุกรรมการ LTC / CM,CG ครั้งที่ 1 (8) ประชุมคณะกรรมการบริหารนกองทุนฯครั้งที่ 4/2567 (9) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และจัดทำแผนสุขภาพตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567 (10) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่5/2567 และเวทีคืนข้อมูลกองทุน (11) ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 1/67 (12) ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 2/67 (13) ประชุมคณะกรรมการกองทุนครั้งที่ 5/2567และเวทีคืนข้อมูลกองทุน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรดำเนินโครงการต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2567

รหัสโครงการ 67-L3325-4-1 รหัสสัญญา 2/2567 ระยะเวลาโครงการ 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีการพัฒนาให้ความรู้เเก่คณะกรรมการ/อนุกรรมการ/อนุกรรมการ LTC เกี่ยวกับประกาศหลักเกณฑ์ฉบับใหม่ ปี2567

คณะกรรมการ/อนุกรรมการ/อนุกรรมการ LTC /ได้เข้าพัฒนาศักยภาพจากวิทยากรเขต12 สงขลา มีการทดสอบความรู้ก่อนการให้ความรู้

คณะกรรมการทุกท่านต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพและเรียนรู้ประกาศฉบับใหม่ๆทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3325-4-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัญญาภัค สว่างรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด