โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายฟาเดล หะยีสือแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู
ธันวาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L70080212 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L70080212 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัญหาปัจจุบันมีผลกระทบโดยตรงต่อเยาวชนคงหนีไม่พ้นปัญหายาเสพติด การพนัน การขโมย และอบายมุขทั้งหลาย ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาที่รุมเร้า และมีผลกระทบโดยรวมต่อสุขภาวะในการใช้ชีวิตของคนในชุมชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การแพร่ระบาดของปัญหาดังกล่าวมีแต่จะขยายตัวเพิ่มขึ้น เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างรวดเร็ว อีกทั้งความตระหนักในปัญหาของคนในชุมชนด้วยกันเอง หรือบุคคล หรือองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการปัญหาเป็นไปอย่างค่อนข้างช้า และไม่เห็นความสำคัญเท่าที่ควรทำให้ปัญหาดังกล่าวเกิดการสะสม ซ้ำซ้อนยากต่อการแก้ไขและเยียวยา โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนคือกลุ่มเป้าหมายหลัก ซึ่งง่ายต่อการเข้าถึงปัญหาดังกล่าว ผู้ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่ามากที่สุดกับการขับเคลื่อนพัฒนาชุมชน สังคม และประชาชาติให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุด หากจะย้อนมองชุมชนหรือสังคมในอีก 10 ปีข้างหน้าเป็นเช่นไรให้มองกลุ่มคนซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนในวันนี้ว่ามีคุณภาพชีวิตเป็นเช่นไร เพราะกลุ่มบุคคลดังกล่าว คือกลุ่มคนที่จะนำพาชุมชนให้พัฒนาไปข้างหรือไม่ก็จะนำพาชุมชนให้ถอยหลัง ที่จะอยู่ในสภาพสังคมแห่งยุคมืด ไร้ซึ่งสังคมแห่งคุณธรรม จริยธรรม ที่ดี
หลักธรรมแห่งอิสลาม คือ อีกหนึ่งแนวทางที่จะเป็นเกราะป้องกันให้กลุ่มเด็ก เยาวชน และผู้คนในสังคมมีความเข็มแข็งทางจิตวิญญาณ ความคิด และสติปัญญา รอดพ้นสามารถขจัดปัญหาที่เป็นปัญหาสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นกระบวนการที่ดีที่สุดที่ชุมชน สังคม ต้องพึ่งพา ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่กลุ่มเด็กและเยาวชนควรได้รับการอบรมปลุกฝังองค์ความรู้ ความเข้าใจ ด้านคุณธรรม จริยธรรมแห่งอิสลาม เสริมสร้างศักยภาพความเป็นผู้นำของเยาวชนให้เกิดขึ้นจริง รวมถึงการสร้างคุณภาพชีวิตตามแนวทางของอิสลามอย่างถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นกลุ่มเยาวชนเป้าหมายที่เพียบพร้อม มีความเข้มแข็งทั้งทางด้าน คุณธรรม จิตวิญญาณ สติปัญญา และเป็นพลเมืองดีของชุมชนต่อไป
จากสถานการณ์ปัจจุบันกลุ่มเยาวชนตำบลบางปู ปู มีความตระหนักและเห็นถึงปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ เพื่อหาวิธีป้องกันและแก้ไขปัญหานี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างกลุ่มเยาวชนให้มีเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี
- เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหาของเยาวชน
- เพื่อสร้างกลุ่มเยาวชนต้นแบบกับการเป็นพลเมืองที่ดีสู่วัยรุ่นคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เยาวชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูที่เข้าร่วมโครงการได้รับการเสริมสร้างเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหา เป็นกลุ่มเยาวชนต้นแบบเป็นพลเมืองที่ดีและเป็นวัยรุ่นคุณภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงโครงการ/กิจกรรม แก่คณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- รับสมัครเยาวชนเข้าร่วมโครงการ
-จัดกิจกรรมค่ายเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ การรู้จักปัญหา และวิธีจัดการปัญหา ได้แก่ทักษะป้องกันการจมน้ำ วินัยจราจร/การขับขี่ปลอดภัย รู้เท่าทันยาเสพติด อาหารขยะใกล้ตัว โภชนาการที่ดี
ครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น คุณธรรมจริยธรรมนำวิถีชีวิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เยาวชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการป้องกัน เรียนรู้การแก้ไขปัญหา มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ได้รับการส่งเสริมและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างกลุ่มเยาวชนให้มีเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการเสริมสร้างเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี
0.00
2
เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหาของเยาวชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหา
0.00
3
เพื่อสร้างกลุ่มเยาวชนต้นแบบกับการเป็นพลเมืองที่ดีสู่วัยรุ่นคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการเป็นกลุ่มเยาวชนต้นแบบเป็นพลเมืองที่ดีและเป็นวัยรุ่นคุณภาพ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างกลุ่มเยาวชนให้มีเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี (2) เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหาของเยาวชน (3) เพื่อสร้างกลุ่มเยาวชนต้นแบบกับการเป็นพลเมืองที่ดีสู่วัยรุ่นคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L70080212
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายฟาเดล หะยีสือแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายฟาเดล หะยีสือแม
ธันวาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L70080212 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L70080212 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัญหาปัจจุบันมีผลกระทบโดยตรงต่อเยาวชนคงหนีไม่พ้นปัญหายาเสพติด การพนัน การขโมย และอบายมุขทั้งหลาย ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาที่รุมเร้า และมีผลกระทบโดยรวมต่อสุขภาวะในการใช้ชีวิตของคนในชุมชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การแพร่ระบาดของปัญหาดังกล่าวมีแต่จะขยายตัวเพิ่มขึ้น เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างรวดเร็ว อีกทั้งความตระหนักในปัญหาของคนในชุมชนด้วยกันเอง หรือบุคคล หรือองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการปัญหาเป็นไปอย่างค่อนข้างช้า และไม่เห็นความสำคัญเท่าที่ควรทำให้ปัญหาดังกล่าวเกิดการสะสม ซ้ำซ้อนยากต่อการแก้ไขและเยียวยา โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนคือกลุ่มเป้าหมายหลัก ซึ่งง่ายต่อการเข้าถึงปัญหาดังกล่าว ผู้ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่ามากที่สุดกับการขับเคลื่อนพัฒนาชุมชน สังคม และประชาชาติให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุด หากจะย้อนมองชุมชนหรือสังคมในอีก 10 ปีข้างหน้าเป็นเช่นไรให้มองกลุ่มคนซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนในวันนี้ว่ามีคุณภาพชีวิตเป็นเช่นไร เพราะกลุ่มบุคคลดังกล่าว คือกลุ่มคนที่จะนำพาชุมชนให้พัฒนาไปข้างหรือไม่ก็จะนำพาชุมชนให้ถอยหลัง ที่จะอยู่ในสภาพสังคมแห่งยุคมืด ไร้ซึ่งสังคมแห่งคุณธรรม จริยธรรม ที่ดี หลักธรรมแห่งอิสลาม คือ อีกหนึ่งแนวทางที่จะเป็นเกราะป้องกันให้กลุ่มเด็ก เยาวชน และผู้คนในสังคมมีความเข็มแข็งทางจิตวิญญาณ ความคิด และสติปัญญา รอดพ้นสามารถขจัดปัญหาที่เป็นปัญหาสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นกระบวนการที่ดีที่สุดที่ชุมชน สังคม ต้องพึ่งพา ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่กลุ่มเด็กและเยาวชนควรได้รับการอบรมปลุกฝังองค์ความรู้ ความเข้าใจ ด้านคุณธรรม จริยธรรมแห่งอิสลาม เสริมสร้างศักยภาพความเป็นผู้นำของเยาวชนให้เกิดขึ้นจริง รวมถึงการสร้างคุณภาพชีวิตตามแนวทางของอิสลามอย่างถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นกลุ่มเยาวชนเป้าหมายที่เพียบพร้อม มีความเข้มแข็งทั้งทางด้าน คุณธรรม จิตวิญญาณ สติปัญญา และเป็นพลเมืองดีของชุมชนต่อไป จากสถานการณ์ปัจจุบันกลุ่มเยาวชนตำบลบางปู ปู มีความตระหนักและเห็นถึงปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ เพื่อหาวิธีป้องกันและแก้ไขปัญหานี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างกลุ่มเยาวชนให้มีเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี
- เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหาของเยาวชน
- เพื่อสร้างกลุ่มเยาวชนต้นแบบกับการเป็นพลเมืองที่ดีสู่วัยรุ่นคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เยาวชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูที่เข้าร่วมโครงการได้รับการเสริมสร้างเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหา เป็นกลุ่มเยาวชนต้นแบบเป็นพลเมืองที่ดีและเป็นวัยรุ่นคุณภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ |
||
วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเยาวชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการป้องกัน เรียนรู้การแก้ไขปัญหา มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ได้รับการส่งเสริมและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างกลุ่มเยาวชนให้มีเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการเสริมสร้างเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหาของเยาวชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหา |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างกลุ่มเยาวชนต้นแบบกับการเป็นพลเมืองที่ดีสู่วัยรุ่นคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการเป็นกลุ่มเยาวชนต้นแบบเป็นพลเมืองที่ดีและเป็นวัยรุ่นคุณภาพ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างกลุ่มเยาวชนให้มีเกราะป้องกันและมีภูมิคุ้มกันที่ดี (2) เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เรียนรู้วิธีการจัดการและเข้าใจปัญหาของเยาวชน (3) เพื่อสร้างกลุ่มเยาวชนต้นแบบกับการเป็นพลเมืองที่ดีสู่วัยรุ่นคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนบางปูสู่วัยรุ่นคุณภาพ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L70080212
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายฟาเดล หะยีสือแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......