กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และอ้วนลงพุง
รหัสโครงการ 61-50115-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.กาวะ
วันที่อนุมัติ 23 พฤศจิกายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 46,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนาซีป๊ะ ญาติมณี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะและ รพ.สต.กาวะ
ละติจูด-ลองจิจูด 6.02,101.889place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2560 31 ก.ค. 2562 46,000.00
รวมงบประมาณ 46,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพนับว่ามีความสำคัญและเป็นหัวใจหลักของการปฏิรูประบบสุขภาพ โดยเฉพาะประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งนับว่าเป็นวัยที่เริ่มเกิดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังมาก ทำให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลและรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยอุดมไปอาหารมากมาย ล้วนแต่ส่งผลได้ในด้านดี และไม่ดี หากเลือกรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือเลือกรับประทานอาหารไม่เป็น จะส่งผลในแง่ไม่ดีตามมาได้รูปแบบของโรคต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน เป็นต้น ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพนับว่ามีความสำคัญและเป็นหัวใจหลักของการปฏิรูประบบสุขภาพ โดยเฉพาะประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งนับว่าเป็นวัยที่เริ่มเกิดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังมาก ทำให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลและรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก ตามตัวชี้วัดในประเด็นยุทธศาสตร์ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่เหมาะสม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๙๐ และจากผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะพ.ศ. ๒๕๖๐ พบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๑,๗๙๙คน ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน จำนวน ๑,๓๐๕ คน (ร้อยละ ๙๓.๖๒) พบว่ามีผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒๙๐ คน (ร้อยละ ๒๒.๒๒) และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน ๙๖ คน(ร้อยละ ๖,๐๕) และป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๔๒๕ คน (ร้อยละ ๓๒.๕๗) ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน ๑๓๓ คน(ร้อยละ ๑๐.๒)ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในอนาคต จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว กองทุนสุขภาพตำบลกาวะจึงมีแนวคิดในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านการส่งเสริมสุขภาพให้กับประชากรกลุ่มนี้ด้านสุขภาพกาย สุขภาพใจและสังคมให้ดีขึ้นทำให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ลดภาระและค่าใช้จ่ายของครอบครัว สังคมในด้านการรักษาพยาบาลจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส ปี 256๑

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 46,000.00 0 0.00
1 ธ.ค. 60 - 31 ก.ค. 61 อบรมให้ความรู้ ผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยเสี่ยงสูงมาก 0 46,000.00 -

๑. ประชาสัมพันธ์โครงการโดย อสม. ๒. คัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ในผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป
3. อบรมความรู้ผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ๒50 คน
๔.จำแนกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรอง ตามปิงปองจราจร ๗ สี ๕.อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรค HT,DM ตามหลัก 3 อ 2 ส จำนวน 1 วัน จำนวน 30 คน ๖. อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเสี่ยงสูงมาก (CVD RISK > 30%และประเมินภาวะแทรกซ้อน ๗.อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม BMI เกิน และรอบเอวเกิน จำนวน ๓๐ คน จำนวน๒ครั้ง และติดตามผล ๖ ครั้ง ๘.ประชุมสรุปผลการประเมิน BMI หลังดำเนินโครงการ 9.มอบเกียรติบัตรผู้ที่สามารถลดค่า BMI และรอบเอวอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน เพื่อเป็นการป้องกัน และลดโอกาสการเกิดโรคขั้นต้นได้ 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ธ.ค. 2560 10:20 น.