กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง


“ พันเตียง ผูกใจ ห่วงใยผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ”

ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพิชญาภา สาวิชชโก

ชื่อโครงการ พันเตียง ผูกใจ ห่วงใยผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5215-03-06 เลขที่ข้อตกลง 002/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"พันเตียง ผูกใจ ห่วงใยผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พันเตียง ผูกใจ ห่วงใยผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง



บทคัดย่อ

โครงการ " พันเตียง ผูกใจ ห่วงใยผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5215-03-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 624,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคนในทุกมิติและทุกช่วงวัยให้มีสุขภาวะที่ดี โดยเฉพาะวัยผู้สูงอายุที่ต้องการส่งเสริมให้เป็นพลังในการขับเคลื่อนประเทศ ผ่านการสร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ การป้องกันโรคและการจัดสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ ทั้งนี้ประเทศไทยจัดเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Completed Aged Society) แล้ว เมื่อปี พ.ศ. 2565 โดยมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุสูงถึง 13,458,000 คน จากประชากรทั้งหมด 65,994,000 คน และคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2573 ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” หรือ Super Aged Society โดยจะมีผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28 ของประชากร ทั้งประเทศ (ข้อมูลจาก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล) และปัจจุบันเทศบาลเมือง เขารูปช้าง มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุ 8,955 คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 43,019 คน คิดเป็นร้อยละ 20.82 (ข้อมูลจากระบบทะเบียนราษฎร์ท้องถิ่นเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ตำบลเขารูปช้าง เดือน สิงหาคม 2566) ดังนั้น การรับมือกับสภาวการณ์ของสังคมผู้สูงอายุจึงเป็นอีกหนึ่งในภารกิจที่หน่วยงานภาครัฐควรให้ความสำคัญ โดยเฉพาะการดูแลพฤติกรรมสุขภาพที่นำไปสู่การเจ็บป่วยเรื้อรัง การขาดความพร้อมในการจัดหากายอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับสภาวะความเจ็บป่วย ตลอดจนปัญหาการดูแลผู้ป่วยสูงวัยอย่างไม่เหมาะสมล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุในการขัดขวางการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งสิ้น
  ศูนย์ฟื้นฟูสภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เมืองเขารูปช้าง ด้วยความร่วมมือกับ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงเล็งเห็นความสำคัญในการฟื้นฟูสุขภาพและพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ เพื่อจัดบริการด้านสาธารณสุขในการป้องกันความเจ็บป่วยที่อาจจะเกิดขึ้นตามช่วงวัยและเป็นการคงความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ผ่านการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงของศูนย์ฟื้นฟูสภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เมืองเขารูปช้าง ซึ่งเป็นกระบวนการส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยและสนับสนุนการสร้างสุขภาวะที่ดีโดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อเป้าหมายในการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันด้วยดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living: ADL) ในผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ได้รับบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ได้รับบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม
  4. เพื่อให้ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง
  5. เพื่อให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (CG) มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนดำเนินงาน/ Case Conference/ ติดตามและสรุปผลโครงการ
  2. ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการทางกายภาพบำบัด/แพทย์แผนไทยในผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ณ สถานที่ทำการและในชุมชน
  3. บริการธนาคารกายอุปกรณ์
  4. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด และผู้เกี่ยวข้อง
  5. จัดอบรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver: CG) และผู้เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงสามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม
  2. ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด และผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (CG) มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บริการธนาคารกายอุปกรณ์

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บริการธนาคารกายอุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บริการธนาคารกายอุปกรณ์ หมู่ที่ 10-10 ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

 

300 0

2. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด และผู้เกี่ยวข้อง

วันที่ 22 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด  และผู้เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด  และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 40 คน

 

40 0

3. จัดอบรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver: CG) และผู้เกี่ยวข้อง

วันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver: CG) และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน ระหว่างวันที่ 28-29 มีนาคม 2567 ณ ศูนย์ฟื้นฟูสภาพฯ เทศบาลเมืองเขารูปช้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver: CG) และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน ระหว่างวันที่ 28-29 มีนาคม 2567 ณ ศูนย์ฟื้นฟูสภาพฯ เทศบาลเมืองเขารูปช้าง

 

50 0

4. ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการทางกายภาพบำบัด/แพทย์แผนไทยในผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ณ สถานที่ทำการและในชุมชน

วันที่ 5 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการทางกายภาพบำบัด/แพทย์แผนไทยในผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ณ สถานที่ทำการและในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการทางกายภาพบำบัด/แพทย์แผนไทยในผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ณ สถานที่ทำการและในชุมชน

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันด้วยดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living: ADL) ในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงสามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม ร้อยละ 70
150.00 150.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ได้รับบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม
ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มที่ 1 และ 2 มีค่าดัชนี ADL เพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
50.00 50.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ได้รับบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มที่ 3 และ 4 มีค่าดัชนี ADL คงที่หรือไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือเสียชีวิตอย่างสมศักดิ์ศรี ร้อยละ 60
84.00 60.00

 

4 เพื่อให้ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60
40.00 40.00

 

5 เพื่อให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (CG) มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (CG) มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันด้วยดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living: ADL) ในผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ได้รับบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ได้รับบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุม (4) เพื่อให้ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (5) เพื่อให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (CG) มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนดำเนินงาน/ Case Conference/ ติดตามและสรุปผลโครงการ (2) ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการทางกายภาพบำบัด/แพทย์แผนไทยในผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ณ สถานที่ทำการและในชุมชน (3) บริการธนาคารกายอุปกรณ์ (4) จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด  และผู้เกี่ยวข้อง (5) จัดอบรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver: CG) และผู้เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พันเตียง ผูกใจ ห่วงใยผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5215-03-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพิชญาภา สาวิชชโก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด