กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER "การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER "การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายณตฤณ เพ็ชรมี หัวหน้าฝ่ายบริการสาธารณสุข รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการส่วนบริการสาธารณสุข




ชื่อโครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER "การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7258-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กันยายน 2566 ถึง 15 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER "การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER "การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER "การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7258-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กันยายน 2566 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 172,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบัน รัฐบาลต้องการให้เกิดการนำพืชกัญชา กัญชง มาต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาให้เกิดนวัตกรรม สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และเชิงอุตสาหกรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์ทางการเเพทย์ และเป็นทางเลือกสำหรับประชาชนในการดูแลสุขภาพ ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุข ได้มีการถอดกัญชา กัญชง ออกจากบัญชียาเสพติด ประเภท 5 ทำให้เกิดกระเเสธุรกิจกัญชาขึ้น เทศบาลนครหาดใหญ่ได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น บุคลากรในการให้บริการ ยังขาดความรู้การเข้าใจในการใช้กัญชาทางการ เเพทย์ จึงมีความประสงค์ที่จะจัดการฝึกอบรมให้มีความรู้เพื่อให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับกัญชา รวมถึงพนักงานที่เกี่ยวข้อง ได้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการเเพทย์และสามารถถ่ายทอด แนะนำวิธีการใช้กัญาทางการเเพทย์ แก่ผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย และยกระดับความรู้ภาพลักษณ์และการให้บริการเกี่ยวกับกัญชาในประเทศให้มีมาตรฐานและปลอดภัยตามหลักสากล
        Certified Cannabis Budtender Workshop นี้เป็นการผสมผสานระหว่าง เภสัชกร บัดเทนเดอร์ คนสนิดที่ลูกค้าไว้วางใจ และผู้ดูแลร้าน โดยบัดเทนเดอร์ (Budtender) คือหน้าตาของอุตสาหกรรมกัญชาที่ทำงานจากด้านหลังเคาน์เตอร์จ่ายยา บัดเทนเดอร์จะเป็นด่านหน้าที่คอยตรวจสอบและป้องกันการจำหน่ายให้ผู้มีอายุต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด สตรีมีครรภ์ หรือสตรีให้นมบุตร และคอยให้คำเเนะนำการใช้กัญชาแก่ผู้บริโภคทั่วไป และช่วยเหลือบริโภคในการทำความเข้าใจผลิตภัณฑ์และวิธีการใช้ให้เกิดประโยชน์สุงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้ผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา และบัดเทนเดอร์ สามารถถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการแพทย์กับผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
  2. เพื่อให้ผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา และบัดเทนเดอร์ มีความเข้าใจในกฎหมาย ร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชง พ.ศ. 2566 ให้สอดคล้องกับกิจการตามบริบทของกฎหมาย
  3. เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและยกระดับมาตรฐานผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม และสร้างความรู้ความเข้าใจแก่บุคคลทั่วไป ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากการแข็งขันกันทางธุรกิจที่ค่อนข้างสูงในปัจจุบัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. CANNABIS BUDTENDER
  2. จ้างทำเอกสารประกอบการบรรยาย
  3. วัสดุอุปกรณ์
  4. ค่าตอบเเทนวิทยากร
  5. อาหารว่างและเครื่องดื่ม,อาหารกลางวัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าฝึกอบรมสามารถถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการเเพทย์กับผู้บริโภคได้ย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
  2. ผู้เข้าฝึกอบรมมีความเข้าใจในตัวกฏหมาย ร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชง พ.ศ. 2565 ให้สามารถปฏิบัติงานได้สอดคล้องกับบริบทของกฏหมายควบคุม
  3. ยกระดับมาตรฐานผู้ประกอบการธุรกิจกัญชาเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม และสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคคลทั่วไป
  4. ทำให้ผู้เข้าฝึกอบรมมีความเข้าใจในหน้าที่ของบัดเทนเดอร์ที่ดี สามารถปฎิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำไปประกอบอาชีพได้จริง และลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการขาดความรู้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จ้างทำเอกสารประกอบการบรรยาย

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดการต่างๆ
  2. เตรียมข้อมูล และประสานงาน
  3. จัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติจ้างทำเอกสารประกอบการบรรยาย
  4. จัดทำบันทึกข้อความขอความเห็นชอบจ้างทำเอกสารประกอบการบรรยาย
  5. ประสานงานกับผู้ประกอบการ/เจ้าของร้าน เพื่อกำหนดส่งมอบงาน พร้อมจัดทำใบตรวจรับ
  6. ส่งรายงานใบตรวจรับให้เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการต่อไป
  7. หลักจากเอกสารผ่านการตรวจเช็คความถูกต้อง เจ้าหน้าที่คลังจะประสานงานให้ผู้ประกอบการ/เจ้าของร้านเข้ามาเซ็นเอกสารรับเช็ด พร้อมกับให้ผู้ประกอบการ/เจ้าของร้านนำใบเสร็จรับเงินมายื่นให้กับเจ้าหน้าที่คลัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าฝึกอบรมได้รับหนังสือ และคู่มือเรื่องกัญชา เพื่อสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฎิบัติใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

2. ค่าตอบเเทนวิทยากร

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อชี้แจงรายละเอียดต่าง ๆของกิจกรรม
  2. จัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติยืมเงินค่าตอบเเทนวิทยากร
  3. ดำเนินงานกิจกรรมโครงการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER “การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” เทศบาลนครหาดใหญ่
      3.1 กิจกรรมเสวนาในหัวข้อ : การสร้างความร่วมมือเพื่อช่วยเหลือเครือข่ายกัญชาเข้าสู่ระบบกัญชาทางการแพทย์ การจัดเกรดกัญชาสากล สายพันธุ์กัญชา และตลาดธุรกิจกัญชาในประเทศไทย
      3.2 กิจกรรมประจำฐาน จำนวน 6 ฐาน โดยผู้เข้าร่วมการอบรมจำนวนทั้งสิ้น 180 คน แบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน เพื่อสลับเปลี่ยนฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามฐานทั้ง 6 ฐาน โดยใช้เวลาฝึกปฏิบัติฐานละ 1 ชั่วโมง
        ฐานที่ 1 กัญชาพื้นฐาน การปลูกกัญชา การจำแนกประเภทของกัญชา     ฐานที่ 2 กัญชาทางการแพทย์     ฐานที่ 3 การให้คำแนะนำกับผู้บริโภคและการคำนวณโดส, การแปรรูปกัญชา สารสำคัญในกัญชาและการออกฤทธิ์, การปรุงผสมยาไม่ให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
        ฐานที่ 4 การเก็บรักษากัญชาให้คงคุณภาพและ อุปกรณ์ เครื่องมือที่จําเป็น ที่ส่งผลต่อการใช้กัญชาให้มีประสิทธิภาพ
        ฐานที่ 5 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ BUDTENDER และ Business Model กัญชา
        ฐานที่ 6 กฎหมาย ร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชง , การยื่นคำขอรับอนุญาตสมุนไพรควบคุม (ช่อดอกกัญชา) 3 ประเภทและการดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การจัดการเหตุรำคาญและอันตรายต่อสุขภาพและความรับผิดชอบต่อสังคม
  4. ทำแบบประเมินความพึงใจ
  5. จัดทำบันทึกข้อความส่งใช้เงินยืม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับกัญชา บัดเทนเดอร์ พนักงาน บุคลากร ประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการแพทย์ และสามารถถ่ายทอด แนะนำวิธีการใช้กัญชาทางการแพทย์แก่ผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย และยกระดับความรู้ภาพลักษณ์และการให้บริการเกี่ยวกับกัญชาในประเทศไทยให้มีมาตรฐานและปลอดภัยตามหลักสากล

 

0 0

3. วัสดุอุปกรณ์

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดการต่างๆ
  2. เตรียมข้อมูล และประสานงาน
  3. จัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติซื้อวัสดุอุกรณ์และกระเป๋าผ้าใส่เอกสาร
  4. จัดทำบันทึกข้อความขอความเห็นชอบซื้อวัสดุอุกรณ์และกระเป๋าผ้าใส่เอกสาร
  5. ประสานงานกับผู้ประกอบการ/เจ้าของร้าน เพื่อกำหนดส่งมอบงาน
  6. ดำเนินการจัดมอบให้ผู้เข้าฝึกอบรมในวันที่ 15 พ.ย. 66 พร้อมจัดทำใบตรวจรับ
  7. ส่งรายงานใบตรวจรับให้เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการต่อไป
  8. หลักจากเอกสารผ่านการตรวจเช็คความถูกต้อง เจ้าหน้าที่คลังจะประสานงานให้ผู้ประกอบการ/เจ้าของร้านเข้ามาเซ็นเอกสารรับเช็ด พร้อมกับให้ผู้ประกอบการ/เจ้าของร้านนำใบเสร็จรับเงินมายื่นให้กับเจ้าหน้าที่คลัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าฝึกอบรมได้รับกระเป๋า สมุด พร้อมทั้งเอกสาร คู่มือเรื่องกัญชา

 

0 0

4. อาหารว่างและเครื่องดื่ม,อาหารกลางวัน

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดการต่างๆ
  2. เตรียมข้อมูล และประสานงาน
  3. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 12.00 – 13.00 น.
  4. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มระหว่างการจัดกิจกรรม       - ช่วงเช้า เวลา 10.00 – 10.15 น.       - ช่วงบ่าย เวลา 14.00 – 14.15 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าฝึกอบรมได่ัรับบริการอาหารว่างและเครื่องดื่ม และบริการอาหารกลางวัน

 

180 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้ผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา และบัดเทนเดอร์ สามารถถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการแพทย์กับผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับกัญชา บัดเทนเดอร์ พนักงาน บุคลากร ประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการแพทย์

 

2 เพื่อให้ผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา และบัดเทนเดอร์ มีความเข้าใจในกฎหมาย ร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชง พ.ศ. 2566 ให้สอดคล้องกับกิจการตามบริบทของกฎหมาย
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับกัญชา บัดเทนเดอร์ พนักงาน บุคลากร ประชาชนทั่วไป สามารถถ่ายทอด แนะนำวิธีการใช้กัญชาทางการแพทย์แก่ผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

 

3 เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและยกระดับมาตรฐานผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม และสร้างความรู้ความเข้าใจแก่บุคคลทั่วไป ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากการแข็งขันกันทางธุรกิจที่ค่อนข้างสูงในปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับกัญชา บัดเทนเดอร์ พนักงาน บุคลากร ประชาชนทั่วไป สามารถยกระดับความรู้ภาพลักษณ์และการให้บริการเกี่ยวกับกัญชาในประเทศไทยให้มีมาตรฐานและปลอดภัยตามหลักสากล

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้ผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา และบัดเทนเดอร์ สามารถถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการแพทย์กับผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา และบัดเทนเดอร์ มีความเข้าใจในกฎหมาย ร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชง พ.ศ. 2566 ให้สอดคล้องกับกิจการตามบริบทของกฎหมาย (3) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและยกระดับมาตรฐานผู้ประกอบการเกี่ยวกับกัญชา          เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม และสร้างความรู้ความเข้าใจแก่บุคคลทั่วไป ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากการแข็งขันกันทางธุรกิจที่ค่อนข้างสูงในปัจจุบัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) CANNABIS BUDTENDER (2) จ้างทำเอกสารประกอบการบรรยาย (3) วัสดุอุปกรณ์ (4) ค่าตอบเเทนวิทยากร (5) อาหารว่างและเครื่องดื่ม,อาหารกลางวัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CANNABIS BUDTENDER "การยกระดับคุณภาพบัดเทนเดอร์ (BUDTENDER) กัญชาเพื่อการแพทย์พืชสมุนไพรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7258-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณตฤณ เพ็ชรมี หัวหน้าฝ่ายบริการสาธารณสุข รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการส่วนบริการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด