กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566
รหัสโครงการ L867225662012
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลกุดเสลา
วันที่อนุมัติ 24 สิงหาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 44,985.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมปอง อริกุล
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวจุฬารัตน์ วงค์ใหญ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกุดเสลา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
ละติจูด-ลองจิจูด 14.676566,104.852926place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2566 30 ส.ค. 2566 44,985.00
รวมงบประมาณ 44,985.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 111 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกัน รณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่า ปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนักยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่ เกิดจากยุงลายเป็นพาหะของโรค ปัจจุบันพบว่ามีอัตราการเกิดโรคจำนวนมากขึ้นทุกปิ โรคไข้เลือดออกระบาดในช่วง ฤดูฝน ยุงลายชอบวางไข่ตามภาชนะที่มีาขัง เช่น ยางรถยนต์ จานรองขาตู้กับข้าว เป็นต้น ปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับ ไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออก เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้อง ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็น ภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่าง จริงจังและต่อเนื่อง ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลกุดเสลา จึงจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี ๒๕๖๖ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลื่อดออก มีพฤติกรรมในการ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่ถูกวิธีและเหมาะสมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ย. 66
1 การรณรงค์ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก(1 ก.ย. 2566-30 ก.ย. 2566) 0.00  
รวม 0.00
1 การรณรงค์ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนเกิดพฤกรรมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 2.ประชาชนมีความ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม 3.ลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2566 09:09 น.