กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญศรี เลี่ยนกัตวา

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1520-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 ตุลาคม 2566 ถึง 10 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1520-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 ตุลาคม 2566 - 10 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปี พ.ศ. 2566 ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมไปจนถึงกลางเดือนตุลาคม
ในภาคกลาง เหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้จะยังคงมีฝนชุกถึงช่วงมกราคมของปีถัดไป
สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงมีฝนตกชุกในบางพื้นที่ อากาศเริ่มเย็นลง และมีความชื้นสูงขึ้น เป็นสาเหตุ ทำให้โรคหลายชนิดสามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและรวดเร็ว กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เตือนโรคภัยสุขภาพที่เกิดในช่วงฤดูฝน ประกอบด้วย 1) โรคติดต่อทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคไข้หวัดใหญ่
และโรคปอดอักเสบ 2) โรคติดต่อจากการสัมผัส ได้แก่ โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้ฉี่หนู โรคตาแดง และโรค เมลิออยโดสิส 3) โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย หรือโรคชิคุนกุนยา และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
โดยโรคติดต่อที่สำคัญและแพร่ระบาดหลักของพื้นที่ตำบลอ่าวตงในปัจจุบัน คือ คือ โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก และโรคเลปโตสไปโรสิสหรือโรคฉี่หนู โดยสถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ของตำบลอ่าวตง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 28 กันยายน 2566 พบผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ จำนวนทั้งสิ้น 53 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 493.99 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 20 ราย รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี ส่วนสถานการณ์โรคไข้เลือดออกของ อำเภอวังวิเศษ นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 28 กันยายน 2566 ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 128 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 294.19 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และสถานการณ์โรคลปโตสไปโรสิสนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 28 กันยายน 2566 ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Leptospirosis, Wei's Disease จำนวนทั้งสิ้น 40 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 91.93 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของสภาพดินฟ้าอากาศดังกล่าวเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคหลายชนิด ซึ่งสามารถแพร่ระบาดได้ง่าย จึงควรเสริมสร้างความเข้าใจถึงสาเหตุและการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในฤดูฝน เพื่อระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวตง ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7 ) พ.ศ. 2562 มาตรา 6๖ (๓) การป้องกันและระงับโรคติดต่อ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบกับพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 มาตรา ๑๖ ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหาร ส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล องค์การบริการส่วนตำบลอ่าวตง จึงได้จัดโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในช่วงฤดูฝนขึ้น เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และทักษะในการป้องกันตนเองจากโรคที่อาจเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝนแก่ประชาชนในตำบลอ่าวตง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคตาแดง สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์การป้องกันตนเองและการปฏิบัติตนเมื่อมีอาการป่วย
  2. บรรยายความรู้โรคติดต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน
  2. สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดต่อในช่วงฤดูฝนที่อาจเกิดขึ้นในตำบลอ่าวตงได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคตาแดง สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการการป้องกันและควบคุมโรคตาแดง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคตาแดง สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์การป้องกันตนเองและการปฏิบัติตนเมื่อมีอาการป่วย (2) บรรยายความรู้โรคติดต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในช่วงฤดูฝน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1520-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญศรี เลี่ยนกัตวา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด