กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า
รหัสโครงการ 67-L2981-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนราชมุนีรังสฤษฏ์
วันที่อนุมัติ 31 ตุลาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 20 กันยายน 2567
งบประมาณ 20,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวินัย ศรแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนราชมุนีรังสฤษฏ์
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 136 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ และรับทราบถึงปัญหาพิษภัยและโรคที่จะตามมา
154.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพจิต คือระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต แต่ทั้งนี้ จากสถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตเยาวชนระบาดอย่างแพร่หลาย เป็นผลทำให้เยาชนเข้าสู่วงจรของการเครียดและเกิดภาวะซึมเศร้าตามมา ไม่ใช่แค่วัยผู้ใหญ่เท่านั้นที่เสี่ยงโรคซึมเศร้า แต่ในเด็กโอกาสที่จะเกิดโรคนี้ก็มีเช่นกัน อาการที่สังเกตเห็นได้ในเด็กเล็ก อาทิ ไม่ไปโรงเรียน แกล้งทำเป็นป่วย ติดพ่อแม่ หรือเปผ็นกังวลกลัวว่าพ่อแม่จะเสียชีวิต ส่วนในเด็กโตก็จะมีอาการเงียบ ไม่ยอมพูดยอมจา มักมีปัญหาที่โรงเรียน มองโลกในแง่ร้าย ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่ให้การวินิจฉัยค่อนข้างยาก เด็กอาจจะแสดงอาการได้หลายอย่าง ได้แก่ ปัญหาทางพฤติกรรม ปัญหาการเรียน ปัญหาทางเพศ และอาจรุนแรงถึงขั้นฆ่าตัวตายได้ และก่อให้เกิดปัญหาหลายๆอย่าง ส่งผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สังคม และประชาชาติ ทำให้เสียงบประมาณมหาศาลในการแก้ปัญหาดังกล่าว ในการนี้ โรงเรียนราชชมุนีรังสฤษฏ์ ได้ตระหนักเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงถือโอกาสจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าเยาวชนในโรงเรียน เพื่่อแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าและเป็นการสนองนโยบายรัฐบาล ในการนำสังคมไทยไปสู่สังคมที่พึงปรารถนา คือ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ และรับทราบถึงปัญหาพิษภัย และโรคที่จะตามมา

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ และรับทราบถึงปัญหาพิษภัย และโรคที่จะตามมา

0.00
2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับบุคคลในครอบครัว

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับบุคคลในครอบครัวได้

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพจิตใจที่ดีและใช้ชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจนเกิดการพัฒนาที่ดีได้

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพจิตใจที่ดีและใช้ชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจนเกิดการพัฒนาที่ดีได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,200.00 0 0.00
2 ต.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 จัดอบรมโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า 0 20,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพจิตดีขึ้น

  2. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเข้าใจและป้องกันโรคซึมเศร้าให้้กับตัวเองได้

  3. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันโรคเครียดและภาวะซึมเศร้าได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ต.ค. 2566 10:50 น.