กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชายตำบลตะโละกาโปร์ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 ”
ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสารอ มูหะมะสาเล็ม




ชื่อโครงการ โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชายตำบลตะโละกาโปร์ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-01-04 เลขที่ข้อตกลง 4/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชายตำบลตะโละกาโปร์ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชายตำบลตะโละกาโปร์ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชายตำบลตะโละกาโปร์ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8420-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)

ตามหลักคำสอนศาสนาอิสลามเรื่องความสะอาด ความว่า “แท้จริงอัลลอฮจะโปรดผู้ที่สำนึกตัวและชอบผู้ที่รักษาความสะอาด” (สูเราะห์อัลบากอเราะฮ์: 222) การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (การเข้าสุนัต) คือ การทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัดแต่งเพื่อขจัดความสกปรกและเหตุผลทางการแพทย์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ท่านนบีมูฮำหมัด ศ็อลฯ ได้ให้โอวาทไว้ดังนี้ ธรรมชาติ 5 สิ่ง (ในร่างกายมนุษย์) ที่ต้องได้รับการตกแต่ง คือการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ขจัดขนในร่มผ้า ติดเล็บและการตกแต่งหนวดเครา การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธ์ของชาย เพื่อความสะอาดเป็นสำคัญ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อHIV ได้ร้อยละ 50-60 นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทในเขตเทศบาลตำบลตะโละกาโปร์นับถือศาสนาอิสลาม 100 % ของพื้นที่ พบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ “คีตาล(ภาษาอาหรับ) หรือ “ทำสุนัต”(ภาษามลายู) เป็นประเพณีของชุมชน เป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน ซึ่งเป็นกิจกรรมการกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนที่เข้าสุนัต มีความตระหนัก เพราะกำลังเติบโตเป็นผู้ใหญ่ โดยเฉพาะเรื่องความรับผิดชอบในหน้าที่ การรักษาละหมาด 5 เวลา เป็นต้น
จากปัญหาสังคมปัจจุบัน เด็กและเยาวชนมีปัญหาชอบใช้ชีวิตสันโดษ สมาธิสั้น ควบคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้ ขี้เกียจ และเบื่อหน่ายง่าย ทำให้เยาวชนไม่มีสมาธิในการเรียน ไม่มีสมาธิกับการจดจ่อ เนื่องจากการเล่นโทรศัพท์ หรือติดโทรศัพท์ และเกิดพฤติกรรมของการเลียนแบบ สิ่งที่พบเห็นในโทรศัพท์ มากกว่าหลักคำสอนในศาสนา จึงจำเป็นต้องให้ความรู้ตามหลักศาสนา สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ความรัก ความเอาอกเอาใจกัน และให้ความสำคัญกับเด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ ซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ อนาคตของประเทศชาติต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของโครงการดังกล่าว เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุขภาพและคุณธรรม จริยธรรมของเยาวชนชาย ในเขตตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี 2567 ได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เยาวชนตำบลตะโละกาโปร์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
  2. 2.เพื่อเยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง รักษาความสะอาดร่างกาย และไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข
  3. เพื่อเพิ่มการมุสลิมขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์เยาวชนชายขึ้น
  4. เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
  5. เพื่อลดปัญหา ประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมชี้แจงโครงการแก่ทีมงาน
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมออกบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เยาวชน
  3. สรุปผลและติดตาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนตะโละกาโปร์ได้รับการทำสุนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) และรักความสะอาด
  2. สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ
  3. เยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การดูแลแผลหลังผ่าตัดเล็ก (เข้าสุนัตหมู่) และปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเล่นโทรศัพท์
  4. สร้างความตระหนักแก่เยาวชนและผู้ปกครอง ในการทำความดีต่อสังคม และการห้ามปรามจากอบายมุขตามหลักการศาสนาอิสลาม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมชี้แจงโครงการแก่ทีมงาน

วันที่ 26 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม ชี้แจงรายละเอียดโครงการ แก่ ทีมงาน โดยมีงบประมาณ ดังนี้
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 450 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทีมงานสามารถปฏิบัติงานตามรายละเอียดของโครงการได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
2.สามารถดำเนินงานโครงการออกมาได้อย่างเรียบร้อย และเป็นรูปธรรม เป็นต้น

 

15 0

2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมออกบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เยาวชน

วันที่ 19 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมออกบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ แก่ เยาวชน โดยมีรายละเอียดงบประมาณ ดังนี้
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆละ 30 บาท2 มื้อเป็นเงิน 6,000 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คนๆ ละ 60 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
-ค่าวัสดุที่ใช้ในการดำเนินงานเป็นเงิน 4,500 บาท
-ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1200 บาท
-ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 2 ม. (ตร.ม.ละ 250 บาท) จำนวน 1 ผืนๆ ละ 750 บาท
-ค่าตอบแทนบริการทางการแพทย์ 1,200 บาท x 50 คนเป็นเงิน 60,000 บาท
-ค่าผ้าสำหรับเปลี่ยนขณะขลิบหุ้มปลายจำนวน 50 ผืนๆ ละ 80 บาทเ เป็นเงิน 4,000 บาท
-ค่าหมอนรองศีรษะขณะขลิบหุ้มปลาย จำนวน 12 ใบๆ ละ 90 บาทเป็นเงิน1,080 บาท
-ค่าเช่าโต๊ะจัดงาน จำนวน 15 ตัวๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน750 บาท
-ค่าเช่าเครื่องเสียงพร้อมอุปกรณ์ จำนวน 1 ชุดๆ ละ 2,500 บาท
-ค่าเช่าพัดลมตัวใหญ่ ขนาดใบพัด 25 นิ้ว จำนวน 4 ตัวละ 400 บาทเป็นเงิน 1,600 บาท
รวมเป็นเงิน 88,380 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) ตามหลักศาสนาอิสลาม โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีความถนัด โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีความสะอาด ปลอดภัย ถูกหลักอนามัย คิดเป็น ร้อยละ 100
2.เยาวชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ทุกราย ไม่มีภาวะเสี่ยงของการออกเลือด ไม่มีภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และไม่มีการติดเชื้อหลังจากทำการขลิบ คิดเป็น ร้อยละ 100
3.เยาวชนกลุ่มเป้าหมายและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ รวมถึงสามารถดูแลผ่าตัดเล็กแผลหลังจากทำการขลิบ คิดเป็น ร้อยละ 100
4.เยาวชนและผู้ปกครองมีความตระหนักในการทำความดีต่อสังคม ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขต่างๆ ตามหลักการศาสนาอิสลามได้เป็นอย่างดี คิดเป็นร้อยละ 100

 

50 0

3. สรุปผลและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดทำผลการดำเนินงานโครงการ เป็นรูปเล่มรายงาน และมีการมอบหมายทีมงาน ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินงานทำการขลิบหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) ตามหลักศาสนาอิสลาม โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีความถนัด โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีความสะอาด ปลอดภัย ถูกหลักอนามัย คิดเป็น ร้อยละ 100
2.เยาวชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ทุกราย ไม่มีภาวะเสี่ยงของการออกเลือด ไม่มีภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และไม่มีการติดเชื้อหลังจากทำการขลิบ คิดเป็น ร้อยละ 100
3.เยาวชนกลุ่มเป้าหมายและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ รวมถึงสามารถดูแลผ่าตัดเล็กแผลหลังจากทำการขลิบ คิดเป็น ร้อยละ 100
4.เยาวชนและผู้ปกครองมีความตระหนักในการทำความดีต่อสังคม ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขต่างๆ ตามหลักการศาสนาอิสลามได้เป็นอย่างดี คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เยาวชนตำบลตะโละกาโปร์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเยาวชน ไม่มีภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
4.00 50.00 50.00

 

2 2.เพื่อเยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง รักษาความสะอาดร่างกาย และไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเยาวชนและผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง รักษาความสะอาดร่างกาย และไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข
4.00 50.00

 

3 เพื่อเพิ่มการมุสลิมขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์เยาวชนชายขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนชายมุสลิมที่ขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์
50.00 100.00

 

4 เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชน (อายุ 10-15 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ลดลง
30.00 80.00

 

5 เพื่อลดปัญหา ประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ลดลง
30.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เยาวชนตำบลตะโละกาโปร์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding) (2) 2.เพื่อเยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง รักษาความสะอาดร่างกาย และไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข (3) เพื่อเพิ่มการมุสลิมขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์เยาวชนชายขึ้น (4) เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ (5) เพื่อลดปัญหา ประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมชี้แจงโครงการแก่ทีมงาน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมออกบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เยาวชน (3) สรุปผลและติดตาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชายตำบลตะโละกาโปร์ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567

รหัสโครงการ 67-L8420-01-04 รหัสสัญญา 4/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชายตำบลตะโละกาโปร์ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสารอ มูหะมะสาเล็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด