กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง แบบองค์รวม
รหัสโครงการ 60L150301
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต. เกาะเปียะ
วันที่อนุมัติ 16 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปียะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะเปียะ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.453,99.701place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหลานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 40

2 2.เพื่อให้ผู้ป่่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับึความดันโลหิตได้ดี

2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ร้อยละ 60

3 3.เพื่อลดความรุนแรงของโรคและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

3.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีภาวะแทรกซ้อนลดลง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมภาคีเครือข่าย เพื่อวางแผนดำเนินงาน 2.จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 3.จัดกิจกรรมให้ความรู้และการประเมินภาวะแทรกซ้อนแก่กลุ่มเป้าหมายผุ้ป่วยเรื้อรัง ญาติและอสม. 4.จัดทีมติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป้วยเรื้อรังในชุมชนร่วมกับ นสค. (นักสุขภาพประจำครอบครัว 5.สรุปปัญหาและผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ร้อยละ 60 3.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีภาวะแทรกซ้อนลดลง 4.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2559 09:32 น.