โครงการอบรม อสม.น้อย ดูแลสุขภาพชุมชน ปีที่ 2
ชื่อโครงการ | โครงการอบรม อสม.น้อย ดูแลสุขภาพชุมชน ปีที่ 2 |
รหัสโครงการ | 02-L8283-60 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน |
วันที่อนุมัติ | 16 ธันวาคม 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 30 ธันวาคม 2559 - |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายมะรอกี เวาะเลงผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทสบาลตำบลหนองจิก |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 45 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบ้าน (อสม.) หมายถึง บุคคลที่ ได้รับการคัดเลือกจากชาวบ้านในแต่ละกลุ่มบานและได้รับการอบรมตามหลักสูตรที่ กระทรวงสาธารณสุขกําหนดโดยมีบทบาทที่สําคัญใน ฐานะผู้นําการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัยการสื่อสารข่าวสาธารณสุขการแนะนําเผยแพร่ ความรู้ การวางแผนและประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขตลอดจนให้บริการสาธารณสุขด้านต่าง ๆเช่น การสองเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและการป้องกันโรคการช่วยเหลือและรักษาพยาบาลขั้นตอนโดยใช้ยาและ เวชภัณฑ์ตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดการปฐมพยาบาลเบื้องตอนการฟื้นฟูสภาพและจัด กิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานในกลุ่มเยาวชน ตระหนักถึงความสําคัญของปัญหาสาธารณสุขทั้งใน หมูบ้าน/ชุมชน รวมทั้งโรงเรียนที่อยู่ในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก โครงการอบรม อสม. น้อย ดูแลสุขภาพชุมชนจึงเป็นการพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขของเยาวชนให้มีความรู้ และสามารถถ่ายทอดความรูปต่อให้กับเยาวชนในโรงเรียน ชุมชน และหมู่ บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อสม.น้อย สามารถดูแลตนเองครอบครัว พัฒนารูปแบบการดําเนินงาน สาธารณสุขมูลฐานในโรงเรียน ชุมชน และหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- จัดทําโครงการเพื่อขออนุมัติ
- จัดทําตารางการอบรม กําหนดวันเวลาและสถานที่
- จัดเตรียมเอกสารวัสดุ อุปกรณ์สําหรับการอบรม
- แจ้งกําหนดการอบรมให้กลุ่มเป้าหมายและเข้ารับการอบรมตามกําหนด
- ดําเนินการอบรมฟื้นฟูความรู้ ความสามารถและกิจกรรมสันทนาการให้กลุ่มเป้าหมาย ในวันที่ 30 ธันวาคม 2559
1.อาสาสมัครสาธารณสุขน้อย มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐานและมีศักยภาพในการแก้ปัญหาสาธารณสุขที่จําเป็นได้ 2.อาสาสมัครสาธารณสุขน้อยสามารถปฏิบัติงาน และดําเนินกิจกรรมพัฒนารูปแบบงาน สาธารณสุขมูลฐานอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งดูแลตนเอง ครอบครัวและเยาวชนในชุมชน/หมู่บ้าน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2559 10:06 น.