กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไทรทอง


“ โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรัง เพืื่อสุขภวะที่ดีอย่างยั่งยืน ต.ไทรทอง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรัง เพืื่อสุขภวะที่ดีอย่างยั่งยืน ต.ไทรทอง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3024-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มกราคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรัง เพืื่อสุขภวะที่ดีอย่างยั่งยืน ต.ไทรทอง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไทรทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรัง เพืื่อสุขภวะที่ดีอย่างยั่งยืน ต.ไทรทอง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรัง เพืื่อสุขภวะที่ดีอย่างยั่งยืน ต.ไทรทอง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3024-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไทรทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1 ที่มา : ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน (DM) และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม 2 สภาพปัญหา : จากข้อมูลระบบรายงาน HDC อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี ผลการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ตั้งแต่ปี 2564 – 2566 พบว่าเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ57.52,78.54 และ 66.87 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 36.38,20.61 และ 26.97 ตามลำดับ และกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 5.91,0.65 และ 3.82 ตามลำดับ ซึ่งกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ตั้งแต่ปี 2564 - 2566 พบว่าเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 45.18,41.62 และ 49.74 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 23.46,29.73 และ 23.49 ตามลำดับ และกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 29.07,26.33 และ 24.28 ตามลำดับ ซึ่งกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ตั้งแต่ปี 2564 – 2566 จำนวน 22 คน,20 คน และ 66 คน ตามลำดับ และมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ตั้งแต่ 2564 – 2566 จำนวน 69คน,41 คน และ 69 คน ตามลำดับ ซึ่งจำนวนผู้ป่วยรายใหม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี นับตั้งแต่ปี 2564 – 2566 ร้อยละ 4.96,17.95 และ 11.36 ตามลำดับ ซึ่งผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมีแนวโน้มดีขึ้น ผู้ป่วยความดันหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดี นับตั้งแต่ปี 2564 -2566 ร้อยละ 34.75,27.56.และ 34.66 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดีมีแนวโน้มคงที่อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวานนับตั้งแต่ปี 2564 – 2566 ร้อยละ 1.86,1.32 และ 2.87 ซึ่งการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 3 ความเร่งด่วน / ผลที่คาดหวัง : กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี มีความตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำ “โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรังเพื่อสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน ตำบลไทรทอง ปีงบประมาณ 2567 “ ขึ้นเพื่อการค้นหา ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป และตรวจสุขภาพในกลุ่มป่วยตามมาตรฐาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามมาตรฐาน 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยมีการจัดการตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรมสุขภพได้เหมาะสม 4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามส่งต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 76
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 824
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี 3 ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 4 ลดจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามมาตรฐาน 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยมีการจัดการตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรมสุขภพได้เหมาะสม 4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามส่งต่อ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 900
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 76
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 824
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  2. เพื่อผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามมาตรฐาน
    3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยมีการจัดการตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรมสุขภพได้เหมาะสม
    4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามส่งต่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรัง เพืื่อสุขภวะที่ดีอย่างยั่งยืน ต.ไทรทอง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L3024-2-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด