โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอสดี เงาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3013-01-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน 2566 ถึง 13 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3013-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤศจิกายน 2566 - 13 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกได้กำหนดเป้าหมายว่าประชาชนควรได้รับการพัฒนาให้มีสุขภาพที่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นนั้นๆตามแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพของกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) ที่มุ้งเน้นการสร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การเพิ่มความสามารถของชุมชน การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล และการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
สิ่งแวดล้อมนับเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพ หากสิ่งแวดล้อมดีย่อมส่งผลให้คนในพื้นที่มีสุขภาพดีด้วย การดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลบานาให้ความสนใจและพัฒนาสภาพแวดล้อมในพื้นที่ให้เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะที่ดีของประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อร่วมสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน โดยสนับสนุนกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น ส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่รู้จักการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง หากไม่มีการกำจัดอย่างถูกวิธีหรือไม่ลดการใช้ ไม่ใช้ซ้ำหรือไม่คัดแยกขยะก่อนทิ้ง จะลดปริมาณขยะไม่ได้ ซึ่งปัญหาขยะจะส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน ทำให้เป็นโรคภัยต่างๆได้ องค์การบริหารส่วนตำบลบานา เห็นว่าการที่ทำให้ปริมาณขยะลดลงและการดูแลสิ่งแวดล้อมต่างๆ ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งจะมีอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เป็นแกนนำในการดูแลด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีหน้าที่ดังนี้ 1.ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม 2.เฝ้าระวัง สอดส่อง ดูแล และรายงานสถานการณ์การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ เป็นต้น ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบานา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในปี 2567 ในกิจกรรมต่างๆ และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะจากต้นทาง มีการนำขยะไปใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่าหรือการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์จากขยะ การเก็บขยะหรือการทำความสะอาดศาสนสถานต่างๆและการปลูกต้นไม้ช่วยดักจับฝุ่นละอองในอากาศซึ่งเป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมในพื้นที่ให้เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้ ความเข้าใจการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและนำวัสดุที่เหลือมาสร้างมูลค่า
- เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานราชการเนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น รณรงค์จิตอาสาพระราชทาน กิจกรรมปลูกต้นไม้ช่วยดักจับฝุ่นละอองในอากาศ
- กิจกรรมประชุม
- กิจกรรมประกวดหน้าบ้านสวย ในบ้านสะอาด หล้งบ้านน่ามอง
- กิจกรรมทำความสะอาดศาสนสถานในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา
- กิจกรรมประเมินติดตามการดำเนินการของเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)
- กิจกรรมประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกเพื่อติดตามและเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม
- กิจกรรมการประชุมถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน
- ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ครั้งที่ 1
- ตรวจประเมินครั้งที่ 1
- กิจกรรมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
- ทำความสะอาดศาสนสถาน เช่น มัสยิด 11 วัด 1 ในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 1
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 2
- อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)
- ประชุมในกิจกรรมที่ 4 ครั้งที่ 1
- ตรวจประเมินครั้งที่ 2
- ตรวจประเมินครั้งที่ 3
- ตรวจประเมินครั้งที่ 4
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 3
- ตรวจประเมินครั้งที่ 5
- ประชุมในกิจกรรมที่ 7 ครั้งที่ 2
- ตรวจประเมินครั้งที่ 6
- ตรวจประเมินครั้งที่ 7
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 4
- ถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน
- ตรวจประเมินครั้งที่ 8
- ตรวจประเมินครั้งที่ 9
- ตรวจประเมินครั้งที่ 10
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.) มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชน ด้านการจัดการขยะมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมได้
ประชาชนมีความตื่นตัวในการดูแลรักษาความสะอาดในพื้นที่ทำให้สภาพแวดล้อมในพื้นที่มีความสะอาดเรียบร้อยมากยิ่งขึ้น
พื้นที่ตำบลบานามีเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.) ที่เข้มแข็งและสามารถปฏิบัติหน้าที่ในการรักษา ปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ครั้งที่ 1
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
29
0
2. ตรวจประเมินครั้งที่ 1
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
3. กิจกรรมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
วันที่ 5 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
8
0
4. ทำความสะอาดศาสนสถาน เช่น มัสยิด 11 วัด 1 ในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา
วันที่ 29 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
12
0
5. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 1
วันที่ 19 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1
0
6. อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
80
0
7. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 2
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1
0
8. ประชุมในกิจกรรมที่ 4 ครั้งที่ 1
วันที่ 19 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
29
0
9. ตรวจประเมินครั้งที่ 2
วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
10. ตรวจประเมินครั้งที่ 3
วันที่ 14 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
11. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 3
วันที่ 21 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1
0
12. ตรวจประเมินครั้งที่ 4
วันที่ 21 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
13. ตรวจประเมินครั้งที่ 5
วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
14. ประชุมในกิจกรรมที่ 7 ครั้งที่ 2
วันที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
29
0
15. ตรวจประเมินครั้งที่ 6
วันที่ 19 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
16. ตรวจประเมินครั้งที่ 7
วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
17. ตรวจประเมินครั้งที่ 7
วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1
18
0
18. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 4
วันที่ 13 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1
1
0
19. ถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน
วันที่ 13 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
60
0
20. ตรวจประเมินครั้งที่ 8
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
21. ตรวจประเมินครั้งที่ 9
วันที่ 9 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
22. ตรวจประเมินครั้งที่ 10
วันที่ 20 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
18
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้ ความเข้าใจการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและนำวัสดุที่เหลือมาสร้างมูลค่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจากต้นทาง ได้ 8 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10
0.00
2
เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้ ความเข้าใจการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและนำวัสดุที่เหลือมาสร้างมูลค่า (2) เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานราชการเนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น รณรงค์จิตอาสาพระราชทาน กิจกรรมปลูกต้นไม้ช่วยดักจับฝุ่นละอองในอากาศ (2) กิจกรรมประชุม (3) กิจกรรมประกวดหน้าบ้านสวย ในบ้านสะอาด หล้งบ้านน่ามอง (4) กิจกรรมทำความสะอาดศาสนสถานในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา (5) กิจกรรมประเมินติดตามการดำเนินการของเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (6) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) (7) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกเพื่อติดตามและเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม (8) กิจกรรมการประชุมถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน (9) ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ครั้งที่ 1 (10) ตรวจประเมินครั้งที่ 1 (11) กิจกรรมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม (12) ทำความสะอาดศาสนสถาน เช่น มัสยิด 11 วัด 1 ในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา (13) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 1 (14) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 2 (15) อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) (16) ประชุมในกิจกรรมที่ 4 ครั้งที่ 1 (17) ตรวจประเมินครั้งที่ 2 (18) ตรวจประเมินครั้งที่ 3 (19) ตรวจประเมินครั้งที่ 4 (20) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 3 (21) ตรวจประเมินครั้งที่ 5 (22) ประชุมในกิจกรรมที่ 7 ครั้งที่ 2 (23) ตรวจประเมินครั้งที่ 6 (24) ตรวจประเมินครั้งที่ 7 (25) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 4 (26) ถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน (27) ตรวจประเมินครั้งที่ 8 (28) ตรวจประเมินครั้งที่ 9 (29) ตรวจประเมินครั้งที่ 10
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3013-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะรอสดี เงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอสดี เงาะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3013-01-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน 2566 ถึง 13 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3013-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤศจิกายน 2566 - 13 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกได้กำหนดเป้าหมายว่าประชาชนควรได้รับการพัฒนาให้มีสุขภาพที่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นนั้นๆตามแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพของกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) ที่มุ้งเน้นการสร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การเพิ่มความสามารถของชุมชน การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล และการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
สิ่งแวดล้อมนับเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพ หากสิ่งแวดล้อมดีย่อมส่งผลให้คนในพื้นที่มีสุขภาพดีด้วย การดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลบานาให้ความสนใจและพัฒนาสภาพแวดล้อมในพื้นที่ให้เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะที่ดีของประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อร่วมสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน โดยสนับสนุนกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น ส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่รู้จักการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง หากไม่มีการกำจัดอย่างถูกวิธีหรือไม่ลดการใช้ ไม่ใช้ซ้ำหรือไม่คัดแยกขยะก่อนทิ้ง จะลดปริมาณขยะไม่ได้ ซึ่งปัญหาขยะจะส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน ทำให้เป็นโรคภัยต่างๆได้ องค์การบริหารส่วนตำบลบานา เห็นว่าการที่ทำให้ปริมาณขยะลดลงและการดูแลสิ่งแวดล้อมต่างๆ ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งจะมีอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เป็นแกนนำในการดูแลด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีหน้าที่ดังนี้ 1.ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม 2.เฝ้าระวัง สอดส่อง ดูแล และรายงานสถานการณ์การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ เป็นต้น ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบานา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในปี 2567 ในกิจกรรมต่างๆ และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะจากต้นทาง มีการนำขยะไปใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่าหรือการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์จากขยะ การเก็บขยะหรือการทำความสะอาดศาสนสถานต่างๆและการปลูกต้นไม้ช่วยดักจับฝุ่นละอองในอากาศซึ่งเป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมในพื้นที่ให้เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้ ความเข้าใจการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและนำวัสดุที่เหลือมาสร้างมูลค่า
- เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานราชการเนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น รณรงค์จิตอาสาพระราชทาน กิจกรรมปลูกต้นไม้ช่วยดักจับฝุ่นละอองในอากาศ
- กิจกรรมประชุม
- กิจกรรมประกวดหน้าบ้านสวย ในบ้านสะอาด หล้งบ้านน่ามอง
- กิจกรรมทำความสะอาดศาสนสถานในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา
- กิจกรรมประเมินติดตามการดำเนินการของเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)
- กิจกรรมประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกเพื่อติดตามและเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม
- กิจกรรมการประชุมถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน
- ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ครั้งที่ 1
- ตรวจประเมินครั้งที่ 1
- กิจกรรมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
- ทำความสะอาดศาสนสถาน เช่น มัสยิด 11 วัด 1 ในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 1
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 2
- อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)
- ประชุมในกิจกรรมที่ 4 ครั้งที่ 1
- ตรวจประเมินครั้งที่ 2
- ตรวจประเมินครั้งที่ 3
- ตรวจประเมินครั้งที่ 4
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 3
- ตรวจประเมินครั้งที่ 5
- ประชุมในกิจกรรมที่ 7 ครั้งที่ 2
- ตรวจประเมินครั้งที่ 6
- ตรวจประเมินครั้งที่ 7
- คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 4
- ถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน
- ตรวจประเมินครั้งที่ 8
- ตรวจประเมินครั้งที่ 9
- ตรวจประเมินครั้งที่ 10
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.) มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชน ด้านการจัดการขยะมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมได้
ประชาชนมีความตื่นตัวในการดูแลรักษาความสะอาดในพื้นที่ทำให้สภาพแวดล้อมในพื้นที่มีความสะอาดเรียบร้อยมากยิ่งขึ้น
พื้นที่ตำบลบานามีเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.) ที่เข้มแข็งและสามารถปฏิบัติหน้าที่ในการรักษา ปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
29 | 0 |
2. ตรวจประเมินครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
3. กิจกรรมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 5 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
8 | 0 |
4. ทำความสะอาดศาสนสถาน เช่น มัสยิด 11 วัด 1 ในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา |
||
วันที่ 29 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
12 | 0 |
5. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 19 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
1 | 0 |
6. อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
80 | 0 |
7. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
1 | 0 |
8. ประชุมในกิจกรรมที่ 4 ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 19 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
29 | 0 |
9. ตรวจประเมินครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
10. ตรวจประเมินครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
11. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
1 | 0 |
12. ตรวจประเมินครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
13. ตรวจประเมินครั้งที่ 5 |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
14. ประชุมในกิจกรรมที่ 7 ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
29 | 0 |
15. ตรวจประเมินครั้งที่ 6 |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
16. ตรวจประเมินครั้งที่ 7 |
||
วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
17. ตรวจประเมินครั้งที่ 7 |
||
วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1
|
18 | 0 |
18. คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 13 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1
|
1 | 0 |
19. ถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน |
||
วันที่ 13 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 0 |
20. ตรวจประเมินครั้งที่ 8 |
||
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
21. ตรวจประเมินครั้งที่ 9 |
||
วันที่ 9 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
22. ตรวจประเมินครั้งที่ 10 |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้ ความเข้าใจการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและนำวัสดุที่เหลือมาสร้างมูลค่า ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจากต้นทาง ได้ 8 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีความรู้ ความเข้าใจการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและนำวัสดุที่เหลือมาสร้างมูลค่า (2) เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานราชการเนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น รณรงค์จิตอาสาพระราชทาน กิจกรรมปลูกต้นไม้ช่วยดักจับฝุ่นละอองในอากาศ (2) กิจกรรมประชุม (3) กิจกรรมประกวดหน้าบ้านสวย ในบ้านสะอาด หล้งบ้านน่ามอง (4) กิจกรรมทำความสะอาดศาสนสถานในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา (5) กิจกรรมประเมินติดตามการดำเนินการของเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (6) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) (7) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกเพื่อติดตามและเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม (8) กิจกรรมการประชุมถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน (9) ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ครั้งที่ 1 (10) ตรวจประเมินครั้งที่ 1 (11) กิจกรรมการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม (12) ทำความสะอาดศาสนสถาน เช่น มัสยิด 11 วัด 1 ในชุมชนพื้นที่ตำบลบานา (13) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 1 (14) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 2 (15) อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) (16) ประชุมในกิจกรรมที่ 4 ครั้งที่ 1 (17) ตรวจประเมินครั้งที่ 2 (18) ตรวจประเมินครั้งที่ 3 (19) ตรวจประเมินครั้งที่ 4 (20) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 3 (21) ตรวจประเมินครั้งที่ 5 (22) ประชุมในกิจกรรมที่ 7 ครั้งที่ 2 (23) ตรวจประเมินครั้งที่ 6 (24) ตรวจประเมินครั้งที่ 7 (25) คณะกรรมการติดตาม ครั้งที่ 4 (26) ถอดบทเรียน สรุปผล และจัดทำรายงาน (27) ตรวจประเมินครั้งที่ 8 (28) ตรวจประเมินครั้งที่ 9 (29) ตรวจประเมินครั้งที่ 10
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขับเคลื่อนเครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3013-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะรอสดี เงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......