กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขียด


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ตำบลบางเขียด ”

ตำบลบางเขียด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี เสียงแจ้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ตำบลบางเขียด

ที่อยู่ ตำบลบางเขียด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5265-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ตำบลบางเขียด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเขียด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขียด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ตำบลบางเขียด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ตำบลบางเขียด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเขียด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5265-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขียด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชาชนตำบลบางเขียด พบว่า ปัญหาสุขภาพการมีดัชนี มวลกายสูง กระดูกพรุน ควานดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง น้ำตาลในเลือดสูง มีปัจจัยเสี่ยงที่ละเลยการตรวจ สุขภาพ ปัญหาคือ ๑. ขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพของต้นเอง ๒. ขาดแรงจูงใจและแรงสนับสนุน ๓. ปัญหา ปสรรทางวัฒนธรรมคือความอาย ซึ่งจะต้องมีการเสริมสร้างพลังอำนาจในการแก้ใขปัญหาเหล่านั้น เสริมสร้างพลังอำนาจควรมีการจัดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรม โดยกิจกรรมดังกล่าวจะจัดกิจกรรมแยกในแต่ละหมู่บ้าน องค์ประกอบพื้นฐานได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถ ป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลาย เครียด การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการตรวจคัดกรองโรคเบื้องต้น การออกกำลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่สำคัญ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอส่งผลดีต่อ ทั้งทางด้านร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียน ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การเพิ่มภูมิต้านทาน เป็นต้น ส่วนด้านจิตใจ ทำให้สดชื่น อารมณ์ดี ลดความตึงเครียด นอนหลับได้ดี และด้านสังคมช่วยให้มีสัมพันธภาพและมิตรไมตรีต่อกัน มีความเอื้ออาทรต่อกันในชุมชน การที่ประชาชนมีสุขภาพดีนั้นก็จะส่งผลดีทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขียดและกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางเขียด ได้ตระหนักถึง ความสำคัญของการดูแลสุขภาพ จึงได้จัดทำโรงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข โดยการผสมผสาน การดูแลสุขภาพหลากหลายวิธีเพื่อให้ประชาชนได้ดูแลสุขภาพตนเองนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองอย่าง ยั่งยืน มีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง และส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนโดยมีแกนนำ
  3. 3.เพื่อเป็นการสร้างเสริมร่างกายของประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหารและการป้องกันโรค 2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น 3.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง และส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนโดยมีแกนนำ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อเป็นการสร้างเสริมร่างกายของประชาชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง และส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนโดยมีแกนนำ (3) 3.เพื่อเป็นการสร้างเสริมร่างกายของประชาชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ตำบลบางเขียด จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L5265-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรรณดี เสียงแจ้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด