กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเรื้อรัง ตำบลบางเขียด
รหัสโครงการ 67-L5265-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขียด
วันที่อนุมัติ 19 ตุลาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเพ็ญจันทร์ แสงจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางเขียด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.346,100.437place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 26 ต.ค. 2566 30 ก.ย. 2567 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเท เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนคนไทยที่มีความสะดวกสบาย มากยิ่งขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้อัตราเสี่ยง และอัตราเกิดของโรคอ้วนลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มสูงขึ้น กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง เท่าเทียมของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รับรู้ สถานะสุขภาพของตนเอง และเข้าถึงกรคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินาาร พัฒนสุขภาพตามกลุ่มวัย ให้มีความครอบคลุมในมิติทางสุขภาพทั้งสี่มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพการรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อม สุขภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความ เคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ โดยเฉพาะ ๓ อ. คืออาหารออกกำลังกายอารมณ์และ 6 ส. คือไม่สูบบุหรี่ไม่ดื่มสุราเป็นการปรับก่อนป่วย เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสียงร่วมกับสภาพแวดล้อม และวิถี ชีวิตการส่งเสริมสุขภาพ จึงเน้นให้ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ทุกกลุ่มเกิดความตระหนักด้านสุขภาพโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของตนเองและชุมชน

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง

2 2.เพื่อให้เกิดการดำเนินการลดปัจจัยเสี่ยงลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของชุมชนอย่างยั่งยืน

2.ผู้ป่วยเบาหวานนควบคุมน้ำตาลได้ร้อยละ 40

3 2.เพื่อให้เกิดการดำเนินการลดปัจจัยเสี่ยงลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของชุมชนอย่างยั่งยืน

2.ผู้ป่วยเบาหวานนควบคุมน้ำตาลได้ร้อยละ 40

0.00
4 3.เพื่อให้กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมน้ำตาล และความดันโลหิตได้

3.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันได้ร้อยละ 50

5 4.เพื่อสร้างต้นแบบบุคคล / หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

4.ร้อยละ 80 ของกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มป่วย และกลุ่่มเสี่ยงมีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน 2.มีกลุ่มบุคคลต้นแบบ เพื่อดูแลชุมชนต่อเนื่อง 3.มีหมุ่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ต.ค. 2566 10:57 น.