กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์


“ โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวนปี 2567 ”

ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวนปี 2567

ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวนปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวนปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวนปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้กับคณะทำงานและภาคีเครือข่าย และจัดทำแผนปฏิบัติงานในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และขอความร่วมมือผู้นำชุมชน อสม. ประชาชนในการรณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะ
  3. เพื่อสุ่มสำรวจค่าดรรชนีลูกน้ำยุงลายและสุ่มประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายและคืนข้อมูลให้กับหมู่บ้านทราบวันประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน
  4. เพื่อป้องกันและควบคุมโรค และป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม ภายใน 28 วัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคระดับตำบล
  2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ แจ้งข่าวสารรณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะ
  3. สุ่มสำรวจ และคืนข้อมูลค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายประจำสัปดาห์ ผลการสุ่มสำรวจ บ้านไม่ผ่านเกณฑ์บ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายรายเดือนให้กับหมู่บ้านทราบ
  4. ป้องกันและควบคุมโรค กรณีพบผู้ป่วยรายแรกและป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม หลัง 28 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 331
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,826
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีการป้องกันตนเอง ถ้าป่วยเข้าถึงการรักษาอย่างรวดเร็ว 2.ประชาชนตระหนักจัดบ้านเรือนให้สะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย
3.ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่หลัง 28 วัน
4.ค่าดรรชนีลูกน้ำยุงลาย HICI รายสัปดาห์ไม่เกิน ร้อยละ 10 5.อัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคระดับตำบล

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานภาคีเครือข่าย ผู้นำชุมชน  อสม .  ผอ.โรงเรียน  หัวหน้า  ศพด. ประธานกรรมการวัด  ให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก ทบทวนสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหา จัดทำแผนงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่  จำนวน 50 คน ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขถาพตำบลบ้านสี่แยกไสยวน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคระดับตำบล มีความรู้เรื่องไข้เลือดออกรับทราบสถานการณ์อัตราป่วยไข้เลือดออก  ร้อยละ 100 2.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน อสม.และภาคีเครือข่าย  ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก  ระดับตำบล  จำนวน  1  ทีม 3.มีแผนปฎิบัติงานในการป้องกันควบคุมโรคระดับตำบล  ปี  2567 4.มีการประชุม 3เดือน/ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ แจ้งข่าวสารรณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะ

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ แจ้งข่าวสารรณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะจำนวน 1ครั้ง/เดือน และจัดทำข่าวสารประชาสัมพันธ์ให้ความรู้อสม.จำนวน 128 คน ผู้ดำเนินการเสียงตามสาย 8 คน โรงเรียน 5 โรง วัด 5 แห่งสถานประกอบการ 15 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนจัดบ้านเรือนให้สะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย  ร้อยละ 80 2.ผู้ดำเนินงานเสียงตามสายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ การป้องกันไข้เลือดออก แจ้งข่าวสาร รณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะ 1ครั้ง/เดือน  จำนวน  8  ครั้ง

 

400 0

3. สุ่มสำรวจ และคืนข้อมูลค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายประจำสัปดาห์ ผลการสุ่มสำรวจ บ้านไม่ผ่านเกณฑ์บ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายรายเดือนให้กับหมู่บ้านทราบ

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สุ่มสำรวจและคืนข้อมูลค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายประจำสัปดาห์ แจ้งผลการสุ่มสำรวจบ้านไม่ผ่านเกณฑ์บ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายรายเดือนให้กับหมู่บ้านทราบ  เดือนละ  1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ค่าดรรชนีลูกน้ำยุงลายHI ทุกสัปดาห์ ร้อยละ  3 2.ค่าดรรชนีลูกน้ำยุงลาย CIทุกสัแดาห์ เท่ากับ 0 3.อัตราป่วยไข้เลือดออก  45ต่อแสนประชากร 4.หลังคาเรือน ผ่านเกณฑ์บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย  ร้อยละ  80

 

0 0

4. ป้องกันและควบคุมโรค กรณีพบผู้ป่วยรายแรกและป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม หลัง 28 วัน

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้องกันและควบคุมโรค กรณีพบผู้ป่วยรายแรกและป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม ภายใน 28 วัน ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคตามมาตรการ 3-3-1 และควบคุมโรคภายในรัศมี 100 เมตร รอบบ้านผู้ป่วยวันที่ 0,3,7,21 และ รณรงค์สำรวจหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในหมู่บ้านภายใน 24-48 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราป่วยตายเท่ากับ 0 2.ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ภายใน 28 วัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้กับคณะทำงานและภาคีเครือข่าย และจัดทำแผนปฏิบัติงานในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ คณะทำงานและภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคระดับตำบล มีความรู้และมีแผนปฏิบัติงานการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก
50.00 90.00

 

2 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และขอความร่วมมือผู้นำชุมชน อสม. ประชาชนในการรณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้และตระหนักจัดบ้านเรือนให้สะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย
40.00 80.00

 

3 เพื่อสุ่มสำรวจค่าดรรชนีลูกน้ำยุงลายและสุ่มประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายและคืนข้อมูลให้กับหมู่บ้านทราบวันประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านรับทราบผลการรณรงค์สำรวจหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย การจัดบ้านเรือนผ่านตามเกณฑ์ การประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายรายเดือน
10.00 80.00

 

4 เพื่อป้องกันและควบคุมโรค และป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม ภายใน 28 วัน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยไข้เลือดออกต่อแสนประชากรลดลงร้อยละ 10 ของอัตราป่วยของปีที่ผ่านมา
192.06 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5157
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 331
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,826
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้กับคณะทำงานและภาคีเครือข่าย และจัดทำแผนปฏิบัติงานในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และขอความร่วมมือผู้นำชุมชน อสม. ประชาชนในการรณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะ (3) เพื่อสุ่มสำรวจค่าดรรชนีลูกน้ำยุงลายและสุ่มประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายและคืนข้อมูลให้กับหมู่บ้านทราบวันประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน (4) เพื่อป้องกันและควบคุมโรค และป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม ภายใน 28 วัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานภาคีเครือข่าย ป้องกันและควบคุมโรคระดับตำบล (2) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ แจ้งข่าวสารรณรงค์การจัดการขยะ การเก็บน้ำ การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะ (3) สุ่มสำรวจ และคืนข้อมูลค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายประจำสัปดาห์ ผลการสุ่มสำรวจ บ้านไม่ผ่านเกณฑ์บ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายรายเดือนให้กับหมู่บ้านทราบ (4) ป้องกันและควบคุมโรค กรณีพบผู้ป่วยรายแรกและป้องกันไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม หลัง 28 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวนปี 2567

ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ชาวบ้านนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการนำทำลายลูกน้ำยุงลาย ลูกมะกรูด ตะไคร้หอม ดอกปาล์มทำธูปกันยุง ผลิตน้ำมันทากันยุง ยาหม่องสมุนไพร ทากันยุง

ภาพถ่าย

ขยายภูมิปัญญา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ยาหม่อง น้ำมันตะไคร้หอมทากันยุง

ภาพ

พัฒนาเป็นธูปสมุนไพรไล่ยุง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ชาาบ้านเรียนรู้ ในการป้องกันตนเอง การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มผลิตภัณฑ์สมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

นำสมุนไพรมาใช้ แทนสารเคมี

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีความปลอดภัย  ลดการใช้สารเคมี ใช้สมุนไพรที่มีในบ้าน

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ชาวบ้านมีความตระหนักในการจัดการตนเอง นำสมุนไพร

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ลดการใช้สารเคมี จัดการสิ่งแวดล้อม ลดขยะ มลพิษ

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับคนรุ่นต่อไป

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

ใช้สมุนไพรที่มีในบ้าน

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ใช้มาตรการในการจัดการ ใช้สมุนไพรในบ้าน

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน หมู่บ้าน

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

กองทุนหมูบ้าน มาทำยาหม่องตะไคร้หอม

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มสมุนไพร ทากันยุง

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

รณรงค์การใช้ยาหม่่องสมุนไพร แทนโลชั่นทากันยุง

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

การนำสมุนไพรมาใช้ทำยาหม่อง

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

กิจกรรมรณรงค์การผลิตและใช้สมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ลดค่าใช้จ่าย หาง่ายในชุมชน

ภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ช่วยเหลือ แจกจ่ายให้นำไปใช้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

ยาหม่อง และน้ำมันทากันยุง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวนปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด