กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนปีงบประมาณ 2567(ค่าจ้างเหมาบริการประจำเดือนมิถุนายน 2567)
รหัสโครงการ 66-L2481-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสะท้อน
วันที่อนุมัติ 2 ตุลาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 117,370.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนูรีซัน มะเก
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.22,102.059place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (117,370.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วน ในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกลสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครื่อข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมกับประชาชน กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการ มีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้อนที่แล้วยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมใก้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชน ในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริม ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกลในสังคมที่จะต้องเข้าร่วมกันเเก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ให้ลุล่วง สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติให้เเก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน รวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติให้เเก่บุคคลในพื้นที่ ตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2557 ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุน และส่งงเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่นหรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัดการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรคให้กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีคุรภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการบริการจัดการกองทุนเป็นกลไกสำคัญในการที่จะเชื่อมโยงเข้าถึง การประสานการทำงานให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน บทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการ การใช้โปรแกรมในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในการทำงานด้านบัญชี การดำเนินโครงการ กิจกรรม และการจัดการข้อมูลพื้นฐาน ส่งผลให้ดำเนินการบริหารจัดการงานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป
  จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

คณะกรรมการกองทุนฯ มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

2 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

มีการประชุมของคณะกรรมการกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

3 เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

2 - 31 ต.ค. 66 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนตุลาคม 2566 0.00 6,000.00 -
1 - 30 พ.ย. 66 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2566 0.00 6,000.00 -
1 - 29 ธ.ค. 66 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนธันวาคม 2566 0.00 14,350.00 -
1 - 31 ม.ค. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนมกราคม 2567 0.00 6,000.00 -
1 ก.พ. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2567 0.00 6,000.00 -
4 มี.ค. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนมีนาคม 2567 0.00 12,050.00 -
1 เม.ย. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนเมษายน 2567 0.00 6,000.00 -
2 - 31 ต.ค. 66 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนตุลาคม 2566 1.00 6,000.00 -
1 - 30 พ.ย. 66 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนพฤจิกายน 2566 1.00 6,000.00 -
1 - 29 ธ.ค. 66 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนธันวาคม 2566 1.00 6,000.00 -
22 ธ.ค. 66 ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 5.00 1,500.00 -
27 ธ.ค. 66 ค่าตอบเเทนการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 16.00 6,400.00 -
27 ธ.ค. 66 ค่าอหารว่าง พร้อมเครื่องดื่มการประชุมคณะกรรมการ 18.00 450.00 -
1 ม.ค. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนมกราคม 2567 1.00 6,000.00 -
1 ก.พ. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2567 1.00 6,000.00 -
4 มี.ค. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนมีนาคม 2567 1.00 6,000.00 -
5 มี.ค. 67 ค่าตอบเเทนการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 14.00 5,600.00 -
5 มี.ค. 67 ค่าอาหารว่าง พร้อมเครื่องดื่มการประชุมคณะกรรมการ 18.00 450.00 -
1 เม.ย. 67 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ประจำเดือนเมษายน 2567 1.00 6,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีการประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้ง เพื่อโครงการที่เสนอได้รับ การพิจารณาอย่างน้อย 80% 2.วัสดุสำนักงานฯสำหรับการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกซื้อตามแผนงานที่วางไว้
3.ครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุนฯ ถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้ 4.ได้จ้างเหมาบริการตามงานและกิจกรรมที่วางไว้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2566 09:27 น.