โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นายยอดชาย สมจิตร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกอม
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L5186-01-08 เลขที่ข้อตกลง 8/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2567-L5186-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคมะเร็งของไทย จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ปี 2565 พบว่า หญิงไทยพบเป็นมะเร็งเต้านม มากที่สุด จำนวน 38,559 รายรองลงมา คือ มะเร็งปากมดลูก จำนวน 12,956 รายแสดงให้เห็นว่าโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นภัยเงียบใกล้ตัวเนื่องจากในระยะแรกของการเป็นมะเร็งจะไม่แสดงอาการ ไม่เจ็บ ไม่ปวด จะปรากฏอาการผิดปกติให้เห็นเมื่ออยู่ในระยะที่มะเร็งมีการอักเสบและลุกลามไปทั่วแล้วซึ่งเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงมากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หายได้หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกหรือระยะก่อนเป็นมะเร็งแต่ปัญหาสำคัญคือคนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้วซึ่งยากต่อการรักษาให้หายผู้ป่วยมักเสียชีวิตรวมทั้งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมากดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอม จึงเห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดยการตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสตรีเป้าหมายกลุ่มอายุ 30-70 ปีในพื้นที่ตำบลสะกอมมีสตรีกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเกณฑ์ จำนวน 1,450 รายจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอมปี 2566ได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรวม 300 ราย ผลการตรวจไม่พบ Cell ที่ก่อมะเร็งปากมดลูกไม่พบผู้ป่วยรายใหม่แต่พบผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติ เช่น มีเชื้อราเชื้อแบคทีเรียในช่องคลอดได้ทำการส่งต่อไปรักษาเพิ่มเติมที่ รพ.จะนะ จำนวน 12 รายการตรวจคัดกรองมะเร้งเต้านม จำนวน 1,741 รายพบมีอาการผิดปกติและได้รับการส่งต่อทำ Memograpแล้ว จำนวน 10 รายพบผลผิดปกติ จำนวน 1 รายขณะนี้กำลังรักษา รพ.หาดใหญ่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอมได้เห็นถึงความสำคัญของการป้องกัน การค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกจึงได้จัดทำโครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567เพื่อส่งเสริมให้สตรีตำบลสะกอมมีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และรู้จักทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองและสามารถพบเจอมะเร็งในระยะเริ่มต้นได้โดยเร็วที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รวบรวมข้อมูลกำหนดเป้าหมายและประชาสัมพันธ์โครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองพร้อมคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- สรุปผลการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก
2.ค้นหาผู้ป่วยและค้นพบผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
50.00
90.00
2
สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
100.00
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (2) สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รวบรวมข้อมูลกำหนดเป้าหมายและประชาสัมพันธ์โครงการ (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองพร้อมคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (3) สรุปผลการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L5186-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายยอดชาย สมจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นายยอดชาย สมจิตร
กันยายน 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L5186-01-08 เลขที่ข้อตกลง 8/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2567-L5186-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคมะเร็งของไทย จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ปี 2565 พบว่า หญิงไทยพบเป็นมะเร็งเต้านม มากที่สุด จำนวน 38,559 รายรองลงมา คือ มะเร็งปากมดลูก จำนวน 12,956 รายแสดงให้เห็นว่าโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นภัยเงียบใกล้ตัวเนื่องจากในระยะแรกของการเป็นมะเร็งจะไม่แสดงอาการ ไม่เจ็บ ไม่ปวด จะปรากฏอาการผิดปกติให้เห็นเมื่ออยู่ในระยะที่มะเร็งมีการอักเสบและลุกลามไปทั่วแล้วซึ่งเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงมากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หายได้หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกหรือระยะก่อนเป็นมะเร็งแต่ปัญหาสำคัญคือคนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้วซึ่งยากต่อการรักษาให้หายผู้ป่วยมักเสียชีวิตรวมทั้งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมากดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอม จึงเห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดยการตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสตรีเป้าหมายกลุ่มอายุ 30-70 ปีในพื้นที่ตำบลสะกอมมีสตรีกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเกณฑ์ จำนวน 1,450 รายจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอมปี 2566ได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรวม 300 ราย ผลการตรวจไม่พบ Cell ที่ก่อมะเร็งปากมดลูกไม่พบผู้ป่วยรายใหม่แต่พบผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติ เช่น มีเชื้อราเชื้อแบคทีเรียในช่องคลอดได้ทำการส่งต่อไปรักษาเพิ่มเติมที่ รพ.จะนะ จำนวน 12 รายการตรวจคัดกรองมะเร้งเต้านม จำนวน 1,741 รายพบมีอาการผิดปกติและได้รับการส่งต่อทำ Memograpแล้ว จำนวน 10 รายพบผลผิดปกติ จำนวน 1 รายขณะนี้กำลังรักษา รพ.หาดใหญ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอมได้เห็นถึงความสำคัญของการป้องกัน การค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกจึงได้จัดทำโครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567เพื่อส่งเสริมให้สตรีตำบลสะกอมมีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และรู้จักทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองและสามารถพบเจอมะเร็งในระยะเริ่มต้นได้โดยเร็วที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รวบรวมข้อมูลกำหนดเป้าหมายและประชาสัมพันธ์โครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองพร้อมคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- สรุปผลการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก
2.ค้นหาผู้ป่วยและค้นพบผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก |
50.00 | 90.00 |
|
|
2 | สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก |
100.00 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (2) สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รวบรวมข้อมูลกำหนดเป้าหมายและประชาสัมพันธ์โครงการ (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองพร้อมคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (3) สรุปผลการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L5186-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายยอดชาย สมจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......