กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างความเท่าเทียมด้านโภชนาการ ภาวะสุขภาพสำหรับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ
รหัสโครงการ 67-L2981-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านยางแดง
วันที่อนุมัติ 31 ตุลาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 20 กันยายน 2567
งบประมาณ 24,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนูรียะ หะยีบากา
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านยางแดง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 7 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 17 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพจิต คือระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต แต่ทั้งนี้ จากสถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตเยาวชนระบาดอย่างแพร่หลาย เป็นผลทำให้เยาวชนเข้าสู่วงจรของการเครียดและเกิดภาวะซึมเศร้าตามมาไม่ใช่แค่วัยผู้ใหญ่เท่านั้นที่เสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า แต่ในเด็กโอกาสที่จะเกิดโรคนี้ก็มีเช่นกัน อาการที่สังเกตเห็นได้ในเด็กเล็ก อาทิ ไม่ไปโรงเรียน แกล้งทำเป็นป่วย ติดพ่อแม่ หรือเป็นกังวลกลัวว่าพ่อแม่จะเสียชีวิต ส่วนในเด็กโตก็จะมีอาการเงียบ ไม่ยอมพูดยอมจา มักมีปัญหาที่โรงเรียน มองโลกในแง่ร้าย ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่ให้การวินิจฉัยค่อนข้างยาก เด็กอาจจะแสดงอาการได้อย่าง ได้แก่ ปัญหาทางพฤติกรรม ปัญหาการเรียน ปัญหาทางเพศ และอาจรุนแรงถึงขั้นฆ่าตัวตายได้ และก่อให้เกิดปัญหาหลาย ๆ อย่าง ส่งผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สังคม และประเทศชาติ ทำให้เสียงบประมาณมหาศาลในการแก้ปัญหาดังกล่าว ในการนี้ โรงเรียนราชมุนีรังสฤษฏ์ ได้ตระหนักเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงถือโอกาสจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าเยาวชนในโรงเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าและเป็นการสนองนโยบายรัฐบาล ในการนำสังคมไทยไปสู่สังคมที่พึงปรารถนา คือ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ และรับทราบถึงปัญหาพิษภัย และโรคที่จะตามมา

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า

154.00 154.00
2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับบุคคลในครอบครัว

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้คนในครอบครัวได้

154.00 154.00
3 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพจิตใจที่ดีและใช้ชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจนเกิดการพัฒนาที่ดีได้

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพจิตใจที่ดีและใช้ชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจนเกิดการพัฒนาที่ดีได้

154.00 154.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,200.00 0 0.00
2 ต.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 อบรมให้ความรู้ 0 20,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพจิตดีขึ้น

  2. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเข้าใจและป้องกันโรคซึมเศร้าให้กับตัวเองได้

3.นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเครียดและภาวะซึมเศร้าได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2566 14:35 น.