กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรู้รอดปลอดเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเปียะ
รหัสโครงการ 67-L8421-03-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเปียะ
วันที่อนุมัติ 24 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 17,570.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนูรีดา เจะหลง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 63 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)
68.63
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
91.80
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
54.32
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00
5 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
100.00
6 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
42.29
7 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
47.50
8 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
42.86

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเปียะ พบว่า กลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ มักเกิดจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำ เพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดให้มีพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็ก และการที่ผู้ปกครองผู้ดูแลเด็กและเด็กไม่มีความรู้ในการเอาตัวรอด/ปฐมพยาบาลผิดวิธี เป็นต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง เน้นการสอน "อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม" และการตะโกนขอความช่วยเหลือ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กถือว่า มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ต้องมีความรู้ ในการสอนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงและหากเด็กจมน้ำต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเอาตัวรอด/ปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี ผู้จัดโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการให้ความรู้ต่อเด็ก ซึ่งมีผลกระทบต่อความเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างเป็นองค์รวมของเด็ก จึงจัดโครงการนี้ขึ้น

การที่จมน้ำเป็นสาเหตุที่ทำให้เด็กไทยเสียชีวิต ในช่วงหลายปรที่ผ่านมาช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน เป็นช่วงเดือนที่เด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด เนื่องจากตรงกับช่วงปิดภาคเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเปียะ จึงได้จัดทำโครงการ รู้รอดปลอดเด็กจมน้ำขึ้นเพื่อให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รู้ถึงหลักการปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานกาณ์อันตรายในน้ำ รวมถึงแนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันระหว่างผู้ปกครองกับบุตรหลาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำได้ ทั้งนี้ ตามโครงการมีการสาธิตวิธีว่ายน้ำ ที่ใช้อุปกรณ์อย่างง่ายและใกล้ตัวในการป้องกันการจมน้ำ สาธิตวิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำอีกด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้ความสามารถในการป้องกันตนเองจากการจมน้ำ

 

63.00 70.00
2 เพื่อให้เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง ได้รับรู้ตระหนักถึงอันตรายและวิธีการป้องกันมิให้เกิดความสูญเสียจากการจมน้ำ

 

63.00 70.00
3 เพื่อให้เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง รู้ถึงวิธีปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายจากน้ำ

 

63.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,570.00 0 0.00
1 - 30 พ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน 0 0.00 -
1 พ.ย. 66 - 30 ก.ย. 67 สอนเด็กว่ายน้ำ 0 17,570.00 -
1 - 30 ก.ย. 67 ประเมินผลและสรุปโครงการ 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้ความสามารถในการป้องกันตนเองจากการจมน้ำ 2.เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง ได้รับรู้ตระหนักถึงอันตรายและวิธีการป้องกันมิให้เกิดความสูญเสียจากการจมน้ำ 3.เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง รู้ถึงวิธีปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายจากน้ำ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2566 10:03 น.