กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ ”

ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ฝ่ายเลขาฯกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์

ที่อยู่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1501-4-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1501-4-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 137,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ลงวันที่ 13 กันยายน 2561 ข้อ 10 กำหนดว่า “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ (4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้รับเงินเพิ่ม อาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้อีกไม่เกินร้อยละ 5กรณีมีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ให้สนับสนุนได้ในวงเงินตามความจำเป็น และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้เป็นทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น” ประกอบกับหลักเกณฑ์แนบท้ายประกาศฉบับนี้ หมวด 3 กำหนดค่าตอบแทนการประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และค่าใช้จ่ายอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ ข้อ 6. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้จ่ายเป็นค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงาน และบุคคลภายนอกที่ได้รับเชิญมาประชุม ดังต่อไปนี้ 6.1 ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับกรรมการหรือที่ปรึกษา ไม่เกินครั้งละ 400 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 800 บาท 6.2 ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับอนุกรรมการ ไม่เกินครั้งละ 300 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 600 บาท 6.3 ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะทำงาน ไม่เกินครั้งละ 200 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 400 บาท 6.4 ค่าตอบแทนสำหรับการประชุมสำหรับบุคคลภายนอกซึ่งเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการกองทุน หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน ให้เบิกเงินค่าตอบแทนได้เท่ากับกรรมการ หรืออนุกรรมการ หรือคณะทำงาน แล้วแต่กรณี ข้อ 7. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้จ่ายเป็นค่าตอบแทนสำหรับเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพที่เข้าประชุมคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน ให้เบิกจ่ายในอัตราเท่ากับกรรมการ หรืออนุกรรมการ หรือคณะทำงาน แล้วแต่กรณี ข้อ 8. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางของกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เบิกจ่ายได้ในอัตราไม่เกินระเบียบของทางราชการโดยอนุโลม ทั้งนี้ โดยการอนุมัติของประธานกรรมการ แผนสุขภาพชุมชน เป็นแผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชนเพื่อประชาชน เป็นกระบวนการที่ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาและร่วมรับผลประโยชน์ โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนงานในอดีตเพื่อกำหนดอนาคต การสำรวจข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และการประเมินศักยภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากรภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมในชุมชน รวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล โดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการและการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโพธิ์ จึงต้องส่งเสริมให้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและผู้รับผิดชอบการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโพธิ์ มีความรู้ความเข้าใจในกฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตลอดจนสามารถจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อให้มีแผนงาน/โครงการสำหรับเป็นแนวทางในการดำเนินงานต่อไป วิธีดำเนินการ 1. ขั้นตอนวางแผนงาน - ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน - กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2. ขั้นตอนการดำเนินงาน - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด - จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ อย่างน้อยรวม 4 ครั้งต่อปี และบันทึกรายงานการประชุมทุกครั้ง - จัดประชุมอนุกรรมการ/คณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย - เบิกเงินค่าตอบแทนการประชุมเพื่อจ่ายให้กับคณะกรรมการ ที่ปรึกษากองทุนที่มาประชุมและคณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน บุคคลภายนอกที่เข้าร่วมประชุม ตามระเบียบกองทุนฯ - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ - จัดซื้อวัสดุที่ใช้ในการปฏิบัติงานของสำนักงานเลขานุการกองทุนฯ - กำหนดสถานที่ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพที่มีผลงานดีเด่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯอย่างต่อเนื่อง
  2. 2.เพื่อให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
  3. 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในกฏเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และสามารถจัดทำแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารจัดการ
  4. 4.เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน กองทุนฯ
  2. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์
  3. กิจกรรมศึกษาดูงานและจัดทำแผนสุขภาพชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 31

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯอย่าต่อเนื่อง 2.ทำให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน 3.ทำให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ได้รับการพิจารณาอนุมัติงบประมาณดำเนินโครงการ

 

2 2.เพื่อให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : กองทุนฯมีการายงานข้อมูลอย่างถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

 

3 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในกฏเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และสามารถจัดทำแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในกฏเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานได้ถูกต้อง

 

4 4.เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : กองทุนฯดำเนินงานและบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 31
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 31

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯอย่างต่อเนื่อง (2) 2.เพื่อให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน (3) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในกฏเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และสามารถจัดทำแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารจัดการ (4) 4.เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน กองทุนฯ (2) จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (3) กิจกรรมศึกษาดูงานและจัดทำแผนสุขภาพชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1501-4-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ฝ่ายเลขาฯกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านโพธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด