กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5303-2-4 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5303-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“คนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน” กำลังเป็นเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขในยุคปัจจุบัน บ่งชี้เห็นถึงแนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยที่จะต้องเดินไปในระยะอันสั้นนี้ เป็นแนวทางการพัฒนาที่ต่อยอดมาจากระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า ที่ปัจจุบันนี้ประชากรกว่า 99% ของประเทศสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ซึ่งถือกันว่าเป็นบันไดขั้นที่ 2 ของการบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน บันไดขั้นที่ 1 ที่ผ่านมาก่อนหน้านั้นคือการที่ประเทศมีระบบบริการสุขภาพที่ดีและเพียงพอ และบันไดขั้นที่ 3 ซึ่งเป็นขั้นสุดท้ายที่จะต้องไปให้ถึงคือการมีทีมหมอครอบครัวที่มีประสิทธิภาพที่กำลังพูดถึงอยู่นี้ แนวคิดของนโยบายนี้คือการต้องการออกแบบระบบบริการให้คนไทยทุกคน ทุกครอบครัวมีหมอดูแล ให้บริการในทุกระดับของการเจ็บป่วย ตั้งแต่การเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ดูแลได้ภายในครอบครัว และชุมชน การเจ็บป่วยที่เพิ่มระดับความต้องการบริการสุขภาพและการแพทย์ขึ้นมาเล็กน้อย ต้องการการดูแลในสถานบริการปฐมภูมิใกล้บ้านในระดับตำบล และการเจ็บป่วยที่ต้องการการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล หรือการดูแลในระดับอำเภอ ต่อไปถึงระดับจังหวัด โดยกำหนดหน้าตาของหมอทั้ง 3 คน “ได้แก่ หมอคนที่ 1 คือ อสม. ทำหน้าที่เป็นหมอประจำบ้าน อสม. 1 คน รับผิดชอบประชาชน 8- 15 หลังคาเรือน ให้การดูแลเบื้องต้น ทำหน้าที่หลักเชื่อมประสานกับหมอคน 2 และหมอคนที่ 3  หมอคนที่ 2 คือ หมอสาธารณสุข หมายถึงเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานบริการปฐมภูมิ หมอคนที่ 3 คือ หมอเวชปฏิบัติครอบครัว หมายถึงบุคลากรในวิชาชีพแพทย์ที่ผ่านการเทรนเวชปฏิบัติ ซึ่งหมอทั้ง 3 คน เป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้นโยบายนี้เดินหน้าไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ อสม. ซึ่งเป็นหมอคนที่1 เป็นหมอประจำบ้าน ที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุดคือ จำเป็นจะต้องมีความรอบรู้มีศักยภาพเหมาะสมกับบทบาทใหม่ ที่จะนำสู่ความไว้วางใจ
    ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง มีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ให้สามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆในชุมชน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานจริงของ อสม. ตลอดจนพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน ให้สอดคล้องกับนโยบาย 3 หมอ โดยมีเป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ อสม.ซึ่งเป็นหมอ คนที่ 1 ในทุกชุมชนให้เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ ให้บริการและประสานงานกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕67 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม.ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่ เปลี่ยนแปลงไป
  2. 2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของ อสม.ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
  3. 3.เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงานทีมวิทยากร เพื่อกำหนดเนื้อหาการอบรม และแนวทางการดำเนินการ
  2. อบรมฟื้นฟูศักยภาพและจัดทำแผนเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่จำนวน 2 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.ชุมชนมีการจัดการระบบการเฝ้าระวังและดูแลโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพของชุมชนได้ดียิ่งขึ้น     3. สามารถจัดการด้านสุขภาพในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม.ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่ เปลี่ยนแปลงไป
ตัวชี้วัด : จำนวน อสม.ที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆตามบทบาทภารกิจอย่างน้อยร้อยละ 90

 

2 2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของ อสม.ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1.จำนวน อสม.ที่เข้ารับการอบรม ร้อยละ 90 2.อสม.มีความรู้ในการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานในเรื่องที่จำเป็นอย่างน้อยร้อยละ 80

 

3 3.เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
ตัวชี้วัด : มีแผนปฏิบัติงานในการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม.ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่ เปลี่ยนแปลงไป (2) 2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของ อสม.ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ (3) 3.เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แต่งตั้งคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงานทีมวิทยากร เพื่อกำหนดเนื้อหาการอบรม  และแนวทางการดำเนินการ (2) อบรมฟื้นฟูศักยภาพและจัดทำแผนเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่จำนวน 2 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5303-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด