กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง

ชื่อโครงการ โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5303-2-6 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5303-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการ “สร้าง” มากกว่า “ซ่อม”สุขภาพ ซึ่งเป็น การบริหารจัดการระบบสุขภาพเชิงรุกและการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากประชาชนเกิดการเจ็บป่วย ด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ และต้องมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล จึงได้มีการรณรงค์ ส่งเสริมให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคและการเจ็บป่วย รัฐบาลมีนโยบาย 3 อ 2 ส เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ ไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่ โดยเฉพาะกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรก และ บูรณาการกับกิจกรรมอื่น ๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยภาครัฐ สนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมให้คน ไทยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที ด้วยการออกกำลังกาย ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนี้การเดิน-วิ่ง เป็นอีกกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งยังเป็นการ ประหยัดไม่สิ้นเปลืองและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สร้างแรงบันดาลใจและเป็นแบบอย่างแก่ประชาชน ได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย
        ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง จึงได้เห็นความสำคัญในการสร้างสุขภาพ โดยจัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้หลัก 3 อ 2 ส แก่ อสม แกนนำสุขภาพ ส่วนราชการในพื้นที่ และประชาชนทั่วไป เพื่อเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ และกิจกรรมการออกกำลังกาย“โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕67 ซึ่งวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมการออกกำลังกายให้มีสุขภาพแข็งแรง ลดการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรค หลอดเลือด และมุ่งหวังการสร้างการมีส่วนร่วมจากหน่วยงาน องค์กรเอกชน บุคลากรด้านสาธารณสุข กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) นักเรียน และประชาชนในพื้นที่ ทั้งนี้ อีกทั้งยังสร้างแรงจูงใจให้เกิดการออกก าลังกายโดยการเดิน-วิ่ง ซึ่งเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม เรียนรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกายโดยการเดิน-วิ่ง ที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ ส่งผลดี ต่อชุมชน และสร้างแบบอย่างเพื่อจุดประกายให้ทุกคนออกกำลังกาย ปลอดภัย และปลอดโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการออกกำลังกาย
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนึกถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการออกกำลังกาย
  3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ด้วยการออกกำลังกาย
  4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดในสมอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกายโดยการเดิน-วิ่ง – ยืดเส้นยืดสาย กายใจแข็งแรง
  2. กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงการดำเนินงานและวัตถุประสงค์ โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕67
  3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตามหลัก3อ.2ส.แก่แกนนำสุขภาพในชุมชน และประชาชน และส่วนราชการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หลังจากดำเนินโครงการ อสม แกนนำสุขภาพ ส่วนราชการในพื้นที่ และประชาชนทั่วไป มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตามหลัก3อ.2ส. มีความตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่ เหมาะสม ประชาชนมีการออกกำลังกายโดยการเดิน-วิ่ง ยืดเส้นยืดสายอย่างต่อเนื่อง และมีสุขภาพแข็งแรงลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดัน โลหิตสูง โรคหลอดเลือดในสมอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่เข้ารับการอบรม ร้อยละ 80

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนึกถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีพฤติกรรมในการส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 80

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ด้วยการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : มีประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย ร้อยละ 80

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดในสมอง
ตัวชี้วัด : ดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมมากกว่าปีที่ผ่านมา

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการออกกำลังกาย (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนึกถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการออกกำลังกาย (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ด้วยการออกกำลังกาย (4) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วย โรคเบาหวาน  โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดในสมอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกายโดยการเดิน-วิ่ง – ยืดเส้นยืดสาย กายใจแข็งแรง (2) กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงการดำเนินงานและวัตถุประสงค์ โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง  ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕67 (3) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตามหลัก3อ.2ส.แก่แกนนำสุขภาพในชุมชน และประชาชน และส่วนราชการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมอครอบครัวชวนเดิน-วิ่ง-ยืดเส้นยืดสายกายใจแข็งแรง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5303-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด