กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ


“ โครงการเกษียณสำราญ ”

ตำบลพังลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ ร.ต.หญิง สุนิสา เรืองเนียม

ชื่อโครงการ โครงการเกษียณสำราญ

ที่อยู่ ตำบลพังลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67L82890207 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษียณสำราญ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพังลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษียณสำราญ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษียณสำราญ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพังลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67L82890207 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 96,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีเป้าหมายทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่สำคัญประกอบด้วย ๒ ส่วน คือการมีอายุ ยืนยาวและการมีคุณภาพชีวิตที่ดี การที่ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงในทุกช่วงวัยทำให้มีอายุยืนยาวเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุซึ่งการมีอายุยืนยาวไม่เจ็บป่วยเป็นโรค เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต เนื่่องจากคุณภาพชีวิตประกอบด้วยสุขภาพในหลายด้านรวมกัน ได้แก่ สุขภาพด้านกายภาพ (physical health) สุขภาพด้านจิตใจ (mental health) สุขภาพด้านสังคม (Social health) และภาวะสุขภาพโดยท้่วไป (general health) โดยองค์การอนามัยโลกได้ให้คำนิยามของ "สุขภาพ" ว่าไม่ใช่แต่เพียงการปราศจากโรค แต่หมายถึงการมีความสูมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ซึ่งจะสอดคล้องกับนิยามของคุณภาพชีวิตที่กล่าวว่า "คุณภาพชีวิต" เป็นการรับรู้ความพึงพอใจและสถานะของบุคคลในการดำรงชีวิตในสังคม โดยจะสัมพันธุ์กับเป้าหมายและความคาดหวังของตน ภายใต้บริบทของวัฒนธรรม มาตรฐานของสังคม และสิ่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยทั่วไปและบุคคลที่มีสุขภาพที่สมบูรณ์ประกอบไปด้ววย ๓ ส่วนคือ ๑) สุขภาพทางกาย (Physical Health ) คือ มีสภาพร่างกายที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และมีการพัฒนาที่เหมาะสมกับวัย สังเกตได้จากการที่บุคคลนั้นมีความสมบูรณ์แข็งแรง ระบบอวัยวะทุกส่วนทำงานได้ดีมีประสิทธิภาพ ร่างกายมีสมรรถภาพสูง สามารถทำงานได้นานๆ โดยไม่เหนื่่อยง่าย การนอนและการพักผ่อนเป็นไปตามปกติ ผิวพรรณ ผุดผ่อง รูปร่างทรวดทรงสมส่วน เป็นต้่น ๒) สุขภาพทางจิต (Meatal Health ) คือ มีสภาพจิตปกติ สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งมีผู้มีสุขภาพจิตดี ย่อมมีผลมาจากสุขภาพกายทีดี หรือคำกล่าวที่ว่า "จิตใจที่แจ่มใส่ ย่อมอยู่ในร่างกายที่สมบุรณ์ " ๓.) สุขภาพทางสังคม (Social Health ) คือ การมีสภาพขอความเป็นอยู่ หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือนร้อน สามารถเข้ากับบุคคลและชุมชนได้ทุกสถานะอาชีพ ไม่เป็นคนถือตัว ไม่เป็นคนเอารัดเอาเปรียบบุคคลอื่น เป็นที่เคราพรักและเป็นที่นับถือของคนทั่วไป ได้แก่
องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN ) ได้ให้นิยาม ผู้สูงอายุ (Older person ) หมายถึงประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไปและได้แบ่งระดับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ๑. ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aged Society) หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศหรือมีประชากรอายุตั้งแต่ ๖๕ ปี มากกว่าร้อยละ ๗ของประชากรทั้งประเทศแสดงว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ๒. ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society ) หมายถึงสังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งประเทศหรือมีประชากรอายุตั้งแต่ ๖๕ ปี มากกว่าร้อยละ๑๕ ของประชากรทั้งประเทศแสดงว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบุรณ์แบบ ๓. ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged society ) หมายถึงสังคมหรือประเทศมี่ประชากรอายุ ๖๕ ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ ในปัจจุบันข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๕ เทศบาลตำบลคลองแงะมีประชากรทั้งสิ้น ๗,๑๓๘ คน และมีผู้มีอายุ ๖๐ปีขึ้นไป จำนวน ๑,๗๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๐๐ ของประชากรในเขตเทศบาล จึงทำให้เทศบาลตำบลคลองแงะอยู่ในระดับก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เทศบบาลตำบลคลองแงะ ในฐานะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๑๔ พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๕๐ ข้อ ๗ ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ และพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ ข้อ ๑๐ การสังคมสงเคราะห์ และพัฒนาคุณภาพเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส เทศบาลตำบลคลองแงะตระหนักถึงความสำคัญต่อภารกิจดังกล่าวข้างต้น ( mental health ) สุขภาพด้านสังคม (Social health) และภาวะสุขภาพโดยทั่วไป (general health) และแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร เพื่อบริหารส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของผู้สูงอายุ ส่งเสริมกาารเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาทักษะด้านเสรษฐิกิจ สังคม สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ฌดยประสานวิทยากรหลากหลายสาขาอาชีพมาถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบกิจกรรมภายในโครงการฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย
  2. ๒. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ สมารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น และควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ
  3. ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง สุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชิวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเกษียณสำราญ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุมีพัฒนาการทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย ๒. ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตใจที่เหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ๓. ผู้สุงอายุมีสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย

 

2 ๒. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ สมารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น และควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ ทุกระดับชั้น และควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ

 

3 ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง สุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชิวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่เป็นหรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย (2) ๒. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ สมารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น และควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ (3) ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง สุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชิวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเกษียณสำราญ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษียณสำราญ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67L82890207

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ว่าที่ ร.ต.หญิง สุนิสา เรืองเนียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด