กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ลดแม่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ลดแม่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3339-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ลดแม่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ลดแม่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ลดแม่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3339-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นและเยาวชนเป็นประเด็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ องค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 15 – 19 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่นานาชาติต้องการให้บรรลุได้ภายในปีพ.ศ. 2573 โดยได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10 – 14 ปี และอายุ 15 – 19 ปี เป็นส่วนหนึ่งของตัวชี้วัดในการบรรลุเป้าหมายที่ 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย สำหรับประเทศไทย อัตราการคลอดในวัยรุ่นของประเทศมีแนวโน้มลดลงทุกปี ข้อมูลในปี 2564 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10 - 14 ปี ไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2564 เท่ากับ 1.05 ต่อพัน(HDC 16 ส.ค. 64) และอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2564เท่ากับ 26.20 ต่อพัน (HDC 16 ส.ค. 64) แต่อย่างไรก็ตามยังมีการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปีอยู่ในระดับสูง โดยร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี เท่ากับ 13.91 (HDC ณ 16 ส.ค. 64)เนื่องจากปัญหาดังกล่าวจะส่งผลกระทบในหลายมิติทั้งผลกระทบทางสุขภาพ เช่น ความเสี่ยงต่อสุขภาพเด็ก แรกเกิด การทำแท้ง และการทอดทิ้งทารก ผลกระทบต่อสภาพจิตใจ ผลกระทบต่อการศึกษา ครอบครัวและอาชีพและผลกระทบด้านเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม่วัยรุ่นกลายเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ จากสถิติดังกล่าว จากสภาวะปํญหาต่างๆในปัจจุบันผลักดันให้วัยรุ่นง่ายต่อการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน ไม่มีความรู้ในการคุมกำเนิด ทำใให้มีความเสี่ยงสูงต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และประสบกับสภาพปัญหาที่ซ้ำซ้อนมีความยุ่งยากต่อการแก้ไขยิ่งขึ้น อาทิเช่น วัยรุ่นผู้หญิงที่ต้องหยุดเรียนเพื่อเลี้ยงลูก ทำให้ขาดโอกาสทางการศึกษา ไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และแพร่กระจายเชื้อสู่คนอ่่น หย่าขาดจากคู่ สภาพแวดล้อมในการเลี้ยงดูไม่ดี ข้อจำกัดด้านร่างกาย ฐานะทางเศรษฐกิจยากจน ทำให้ขาดที่รู้ที่รอบด้าน เรือ่งอนามัยเจริญพันธ์และการป้องกัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุจภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ลดแม่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อายุน้อยกว่า 20 ปี
  2. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน
  3. 3 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เจาะเลือดหาค่า HCT ในวัยรุ่น เพื่อประเมินภาวะซีด
  2. อบรมให้ความรู้แก่วัยรุ่นในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.วัยรุ่นมีความรู้ในระดับดี และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ได้ 2.วัยรุ่นที่มีภาวะซีด ได้รับการดูแล และรับยาเพื่อให้มีระดับความเข้มข้นเลือดปกติพร้อมเติบโตเป็นวัยรุ่นที่มีสุขภาพดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อายุน้อยกว่า 20 ปี
ตัวชี้วัด : ไม่มีหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
50.00 50.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในระดับดี
50.00 80.00

 

3 3 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง
70.00 12.40

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อายุน้อยกว่า 20 ปี (2) เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน (3) 3 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เจาะเลือดหาค่า HCT ในวัยรุ่น เพื่อประเมินภาวะซีด (2) อบรมให้ความรู้แก่วัยรุ่นในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ลดแม่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3339-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด