กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ


“ โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 ”

ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮนีซะห์ สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2497-1-03 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 เมษายน 2567 ถึง 27 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2497-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 เมษายน 2567 - 27 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 86,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยเด็กและเยาวชนไทยมุสลิมผู้ชายอายุระหว่าง 7– ๑3 ปี จะต้องทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เพื่อให้ร่างกายสะอาดและทำความสะอาดง่ายไม่มีสิ่งสกปรกตกค้างซึ่งจะทำให้เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคการเข้าสุนัตจำเป็นสำหรับผู้ชายที่นับถือศาสนาอิสลาม อีกทั้งวงการแพทย์สมัยใหม่ได้วิเคราะห์มาแล้วว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศนั้นมีคุณประโยชน์มากมาย เช่น สามารถป้องกันการเป็นมะเร็งอวัยวะเพศชายได้ เนื่องจากไม่มีการหมักหมม ของสิ่งสกปรกต่าง ๆ และง่ายต่อการทำความสะอาดดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลตะปอเยาะ จึงจัดทำโครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัย และมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันการเกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์
  3. 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนผู้ชายสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็ก/เยาวชน
  2. กิจกรรมที่ 2 การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรคและการเกิดโรคติดเชื้อ 2 เด็กและเยาวชน ได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ถูกต้องตามหลักการแพทย์ 3 เด็กและเยาวชนมุสลิมผู้ชายสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็ก/เยาวชน

วันที่ 27 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อจัดทำโครงการฯ ๒. ประสานวิทยากรเพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
๓. ดำเนินการจัดโครงการตามวันและเวลาดังกล่าวฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.1 เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรคและการเกิดโรคติดเชื้อ 2.เด็กและเยาวชน ผู้ปกครอง สามารถอธิบายการการปฏิบัติตัวหลังการขลิบ

 

100 0

2. กิจกรรมที่ 2 การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

วันที่ 27 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อจัดทำโครงการฯ ๒. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะปอเยาะ เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ ๓. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ๔. แจ้งผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัคร (อสม.) และภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวข้อง ๕. รับสมัครครัวเรือนที่จะให้บุตรหลานเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 เด็กและเยาวชน ได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ถูกต้องตามหลักการแพทย์ จำนวน 47 คน 2 เด็กและเยาวชนมุสลิมผู้ชายสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
0.00 100.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เด็กและเยาวชน ได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์
0.00 100.00

 

3 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนผู้ชายสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90 เด็กและเยาวชนผู้ชายสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 47
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 47
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์ (3) 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนผู้ชายสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็ก/เยาวชน (2) กิจกรรมที่ 2 การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2497-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮนีซะห์ สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด