กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการ เด็กปาตาสุขภาพดีประจำปี 2567 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางซูลยาณี สาและ

ชื่อโครงการ โครงการ เด็กปาตาสุขภาพดีประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-02-08 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เด็กปาตาสุขภาพดีประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เด็กปาตาสุขภาพดีประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เด็กปาตาสุขภาพดีประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8420-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนก็เป็นสถาบันหนึ่งของสังคมมีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดีสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้วการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การส่งเสริมสุขภาพ การดูแลสุขภาพอนามัยแก่นักเรียน การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย การให้ความรู้ด้านสุขภาพตามสุขบัญญัติ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โรงเรียนชุมชนบ้านปาตา ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จากเบื้องต้นสู่การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน จึงได้จัดทำโครงการเด็กปาตาสุขภาพดี ประจำปี 2567ขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพได้ถูกต้อง การป้องกันโรคระบาด ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นกับนักเรียนได้หากไม่ป้องกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  2. เพื่อให้ครู บุคคลากร และนักเรียน มีกิจกรรมทางกาย วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
  3. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
  4. เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
  5. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  2. จัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้ ครู บุคลากร นักเรียนและส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
  3. ถอดบทเรียน และติดตามการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 194
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครู บุคลากร และนักเรียนร้อยละ 80 ตระหนักและมีความรู้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพของเด็กที่ถูกต้อง
  2. ครู บุคลากร และนักเรียน ป4.-ป.6 ร้อยละ 90 ให้ความรู้และฝึกทักษะในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น
  3. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  4. ครู บุคลากร และนักเรียน ร้อยละ 80 มีกิจกรรมทางกาย วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
5.00 60.00

 

2 เพื่อให้ครู บุคคลากร และนักเรียน มีกิจกรรมทางกาย วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครู บุคลากร และนักเรียน มีกิจกรรมทางกาย วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
5.00 50.00

 

3 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
40.00 80.00

 

4 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
5.00 10.00

 

5 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 194
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 194
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง (2) เพื่อให้ครู บุคคลากร และนักเรียน มีกิจกรรมทางกาย วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน (3) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง (4) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง (2) จัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้ ครู บุคลากร นักเรียนและส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน (3) ถอดบทเรียน และติดตามการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เด็กปาตาสุขภาพดีประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซูลยาณี สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด