กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปี 2567 ”
ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฝีเหย๊าะ เอียดหนัน




ชื่อโครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-50087-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-50087-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมแผนงาน
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย
  3. เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม
  4. จัดกิจกรรมการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 1
  5. จัดกิจกรรมการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 2
  6. สรุปและประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ตำบลน้ำขาว มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้อง สามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการประกอบอาชีพได้อย่างปลอดภัย
  2. กลุ่มเกษตรกรมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและเป็นต้นแบบที่ดีในการดูแลสุขภาพของกลุ่มที่ประกอบอาชีพเกษตรกร
  3. กลุ่มเกษตรกรมีความตระหนักถึงพิษภัยอันตรายจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรและปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นการทำเกษตรอินทรีย์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมแผนงาน

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเจ้าหน้าที่คณะทำงาน จำนวน 15 คน เพื่อพูดคุย วางแผน ปรึกษาหารือแนวทางในการทำงาน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน375 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมการประชุมทุกคนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะวิธีการในการดำเนินงานในรูปแบบต่างๆเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้และเข้าใจวิธีการดำเนินงานในทุกขั้นตอน

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-จัดประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชน โดยให้อสม. เป็นผู้กระจายข้อมูลข่าวสารและคัดเลือกบุคคลที่เป็นกลุ่มเป้าหมายตามโครงการเข้าร่วมกิจกรรม พร้อมแจ้งวัน เวลาและสถานที่ในการจัดกิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายทราบ -ประสานกับพื้นที่เป้าหมายเพื่อเตรียมการวางแผนการดำเนินงานและขออนุญาตใช้สถานที่ในการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้กลุ่มเป้าหมายตามที่กำหนดและมีการเข้าร่วมโครงการตามวัน เวลาดังกล่าว

 

0 0

3. เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม

วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

3.ค่าวัสดุอุปกรณ์/สื่อประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 2,700 บาท 3.1เอกสารการอบรม จำนวน 40 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1000 บาท - แบบทดสอบ Pre test-Post test จำนวน 40 ชุดๆละ 10 บาท เป็นเงิน 400 บาท - แฟ้มสะสมผลงาน จำนวน 40 ชิ้น ๆละ10 บาท เป็นเงิน 400 บาท - ปากกา จำนวน 40 ชิ้น ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 400 บาท 3.2 ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 4.ค่าชุดตรวจหายาฆ่าแมลงในเลือด 2,030 บาท -ชุดตรวจหายาฆ่าแมลงในเลือดเกษตรกร จำนวน 1 ชุดๆละ 950 บาท เป็นเงิน 950 บาท -เข็มเจาะปลายนิ้ว จำนวน 1 กล่องๆละ 750 บาท เป็นเงิน 750 บาท -Tube ฮีมาโตคริท จำนวน 1 กล่องๆละ 180 บาท เป็นเงิน 180 บาท -กล่องดินน้ำมัน จำนวน 1 กล่องๆละ 150 บาท เป็นเงิน 150 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทำกิจกรรมและเจ้าหน้าที่สามารถใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสสำหรับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

4. จัดกิจกรรมการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 1

วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ดำเนินการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่ พร้อมแจ้งผลระดับสารเคมีตกค้างในเลือดให้กลุ่มเป้าหมายทราบ 2.ทำแบบประเมินก่อนการให้สุขศึกษา 3.ให้สุขศึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย -สถานการณ์การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูและอัตราการเจ็บป่วยด้วยพิษของสารเคมี -เรื่องการเลือกใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้องและปลอดภัยกับสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-การตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชในกลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพและมีความแม่นยำ -การจัดกิจกรรมให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมายมีความรอบคลุมในเนื้อหาและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง

ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

 

0 0

5. จัดกิจกรรมการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 2

วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่ พร้อมแจ้งผลระดับสารเคมีตกค้างในเลือดให้กลุ่มเป้าหมายทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีระดับสารเคมีตกค้างในเลือดลดลง

 

0 0

6. สรุปและประเมินโครงการ

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อดำเนินการสรุปโครงการตามที่ได้จัดทำ -เอกสารสรุปงาน 20 ชุด ชุดละ 1 บาท เป็นเงิน 20 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน375 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจัดกิจกรรมดำเนินการไปได้ด้วยดีตามแผนงานที่วางไว้ และได้รับผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างครบถ้วนกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดี และปลอดภัยจากสารเคมี

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
15.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแผนงาน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย (3) เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม (4) จัดกิจกรรมการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 1 (5) จัดกิจกรรมการตรวจหาสารกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 2 (6) สรุปและประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-50087-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฝีเหย๊าะ เอียดหนัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด