กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบิสมี สูยี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2490-1-05 เลขที่ข้อตกลง 005/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2490-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะคลอดก่อนกำหนด คือ การคลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ หรือภาวะที่ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ซึ่งมีโอกาสเสียชีวิตสูง มีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เเละยังพบว่ามีทารกที่คลอดก่อนกำหนดประมาณ 6-7 ใน 100 คน จะมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ซึ่งส่วนใหญ่ทารกจะตัวเล็ก อวัยวะต่าง ๆ ยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์ เช่น ปอดไม่เติบโตพอที่จะหายใจได้ตามปกติ ตับยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้ตัวเหลือง หรือทารกดูดนมไม่ค่อยเก่ง เป็นต้น เเละอาจทำให้ทารกมีความพิการในช่วงหลังคลอด ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของทารก ครอบครัว เเละชุมชน เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ เนื่องจากต้องใช้ทรัพยากร เเละค่าใช้จ่ายสำหรับการดูเเลรักษาทารกกลุ่มนี้เป็นจำนวนมาก
ดังนั้น การสร้างความตระหนักรู้ การรับรู้ให้กับประชาชน เริ่มตั้งเเต่ก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ จนถึงเมื่อเกิดมาเป็นทารก โดยเฉพาะการสร้างการรับรู้ให้กับเด็ก เเละเยาวชน รวมทั้งคนหนุ่มสาวที่กำลังวางแผนมีบุตร ว่าต้องมีการตรวจโรค หรือความเสี่ยง หรือความสมบูรณ์ของร่างการก่อนที่จะตั้งครรภ์ เเละเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ต้องรีบไปฝากครรภ์ที่สถานพยาบาล เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีเเละสร้างพัฒนาการให้แก่เด็กทารก ด้วยเหตุนี้สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของภาวะคลอดก่อนกำหนดและตัดสินใจไปพบแพทย์โดยเร็ว ส่งผลให้สามารถรักษาภาวะคลอดก่อนกำหนดได้อย่างรวดเร็วต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์
  2. เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันที่ดีขณะตั้งครรภ์ตลอดอายุการตั้งครรภ์ ลดการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด
  3. เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ลดการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
  3. กิจกกรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความรู้เเละความตระหนัก เรื่อง อันตรายของการคลอดก่อนกำหนด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ได้ครบ 100 เปอร์เซ็น
  2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความตระหนักในการดูเเลสุขภาพตนเองขณะการตั้งครรภ์
  3. สามารถลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : สามารถจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ได้ครบ 100 เปอร์เซ็น
80.00 100.00

 

2 เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันที่ดีขณะตั้งครรภ์ตลอดอายุการตั้งครรภ์ ลดการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์สามารถคลอดทารกได้ครบตามกำหนด
45.00 50.00

 

3 เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : สามารถลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
50.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ (2) เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันที่ดีขณะตั้งครรภ์ตลอดอายุการตั้งครรภ์ ลดการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด (3) เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ลดการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด (3) กิจกกรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความรู้เเละความตระหนัก เรื่อง อันตรายของการคลอดก่อนกำหนด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2490-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวบิสมี สูยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด