กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสานพลังเยาวชนรุ่นใหม่ปอดใสไร้ควันบุหรี่
รหัสโครงการ 67 - L4127 - 2 - 01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มคนรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ
วันที่อนุมัติ 8 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2566 - 1 พฤษภาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 พฤษภาคม 2567
งบประมาณ 61,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนิรุสดี หะยีตาเละ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
65.00
2 ร้อยละของการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน
80.00
3 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย (รวมทั้งร้านสะดวกซื้อ)
65.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่คุกคามชีวิตของประชาชนจากโรคมะเร็งซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1ในชายหญิงในควันบุหรี่มีสารก่อมะเร็งมากกว่า 70 ชนิดควันบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบแต่ได้รับควันบุหรี่เป็นปัจจัยก่อมะเร็งปอดมะเร็งกล่องเสียงโรคหลอดเลือดหัวใจตีบโรคหอบหืด ภูมิแพ้และโรคอื่นๆมากมายจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสานพลังความร่วมมือในการลด ละ เลิกบุหรี่ส่งเสริมการบังคับกฎหมายตาม พ.ร.บ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2534เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ตามกฎหมายเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากการได้รับควันบุหรี่มือ 2 และ 3 ในคนที่ไม่ได้สูบและสร้างเสริมกลไกทางสังคมดูแลให้กำลังใจให้คนสูบลดละเลิกตลอดจนป้องกันเด็กและเยาวชนไม่ให้เป็นนักสูบหน้าใหม่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

ร้อยละของการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

65.00 75.00
2 เพื่อลดการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

ร้อยละของการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

80.00 95.00
3 เพื่อลดการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

ร้อยละของการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

80.00 95.00
4 เพื่อลดจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย

จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย (รวมทั้งร้านสะดวกซื้อ)

65.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67
1 ขั้นเตรียมการ(1 พ.ย. 2566-30 พ.ย. 2566) 0.00            
2 ขั้นดำเนินการ(1 พ.ย. 2566-30 ม.ค. 2567) 61,800.00            
รวม 61,800.00
1 ขั้นเตรียมการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 0.00 0 0.00
10 - 30 พ.ย. 66 แต่งตั้งคณะทำงานโครงการสานพลังเยาวชนรุ่นใหม่ปอดใสไร้ควันบุหรี่ 10 0.00 -
2 ขั้นดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 540 61,800.00 0 0.00
1 พ.ย. 66 - 30 ม.ค. 67 จัดอบรมเยาวชนรุ่นใหม่ไม่สูบบุหรี่ 270 37,000.00 -
1 พ.ย. 66 - 30 ม.ค. 67 จัดกิจกรรมรณรงค์ชุมชนปลอดบุหรี่/จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ในที่สาธารณะตามกฎหมายกำหนดในชุมชน/สถานที่ต่างๆ 270 24,800.00 -
  1. วิธีดำเนินงาน
    1. แต่งตั้งคณะทำงานโครงการสานพลังเยาวชนรุ่นใหม่ปอดใสไร้ควันบุหรี่
  2. จัดเวทีประชาคมในชุมชนสร้างข้อตกลงเรื่องชุมชนปลอดบุหรี่กำหนดสถานที่สาธารณะที่ปลอดบุหรี่
  3. จัดอบรมเยาวชนรุ่นใหม่ไม่สูบบุหรี่
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์ชุมชนปลอดบุหรี่/จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ในที่สาธารณะตามกฎหมายกำหนดในชุมชน/สถานที่ต่างๆ
  5. จัดทำสื่อ/ไวนิล ป้ายรณรงค์ สถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ต่างๆ
    1. สื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย/วิทยุชุมชนอย่างต่อเนื่อง/ในทุกโอกาสเพื่อสร้างความตระหนักรู้ร่วมของประชาชนในชุมชนในเรื่องพิษภัยและเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย
  6. จัดทำข้อมูลคนสูบบุหรี่ และเลิกบุหรี่ในชุมชน เพื่อวางแผนการปฏิบัติงานต่อไป
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ลดนักสูบรุ่นใหม่
    1. กลุ่มวัยเรียนได้รู้ถึงพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่มือสอง
    2. กลุ่มวัยเรียนสามารถชักจูงผู้ปกครองให้หันมาเลิกบุหรี่ได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ