กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วย 3 ดี จิตดี กายดี กินดี สุขภาพดีในวัยเรียน
รหัสโครงการ 67 - L4127 - 2 - 03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มจิตอาสาพัฒนาหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 8 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2566 - 31 พฤษภาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 65,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวแอเสาะ สอรี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่ อายุ 26-60 ปี ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
60.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่ อายุ 26-60 ปี ที่มีภาวะซึมเศร้า
65.00
3 ร้อยละของเยาวชน อายุ 18-25 ปี ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
65.00
4 ร้อยละของเยาวชน อายุ 18-25 ปี ที่มีภาวะซึมเศร้า
65.00
5 ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
50.00
6 ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและส่งผลกระทบในหลายด้าน ถือเป็นภัยเงียบระดับชาติและเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข กลุ่มโรคดังกล่าวนี้มีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัย ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ระบุประชากรทั่วโลกเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 63 และที่สำคัญเป็นประชากรในประเทศกำลังพัฒนาถึงร้อยละ 80 ขณะที่คนไทยเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรคนี้สูงกว่าอัตราการเสียชีวิตเฉลี่ยของประชากรทั้งโลกถึงร้อยละ 10 และสูงกว่าทุกประเทศในโลก การดำเนินการงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อในปัจจุบัน ได้มีหลากหลายแนวคิดการดำเนินการ เช่น แนวทางการปฏิบัติงานตามองค์การอนามัยโลก แนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงสาธารณสุขตามคู่มือการปฏิบัติงานป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพใช้หลัก 3อ. 2ส. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จากการสำรวจข้อมูลชุมชน พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ขาดการออกกำลังกาย และจากการคัดกรองการบริโภคหวาน มัน เค็ม ในครัวเรือนด้วยวาจา พบว่า ในแต่ละครัวเรือนเน้นการปรุงอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากการลงพื้นที่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนที่สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพแก่ประชาชนและ การออกกำลังกาย จากความสำคัญข้างต้น ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังปัญหา ควบคุม รักษา หรือส่งเสริมดำรงคงไว้ซึ่งสุขภาพที่ดี และการปรับปรุงส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน ให้มีการดูแลสุขภาพของตนเองในวัยเรียนมากยิ่งขึ้น สุขภาพจิตก็เป็นที่ต้องส่งเสริมอย่างยิ่งโดยเฉพาะในกุล่มวัยเรียน เพราะสุขภาพจิตส่งผลต่อสุขภาพกาย ทุกอย่างมันเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบสุขภาพดังนั้นทางกลุ่มจิตอาสาพัฒนาหมู่บ้านจึงได้เล็งถึงความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าวจึงต้องเริ่มปัญหาที่วัยเด็กโดยเพาะในวัยเรียนจึงมีแนวคิดที่จะทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วย 3 ดี จิตดี กายดี กินดี สุขภาพดีในวัยเรียน ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดผู้ใหญ่ อายุ 26-60 ปี ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

ร้อยละของผู้ใหญ่ อายุ 26-60 ปี ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

60.00 80.00
2 เพื่อลดผู้ใหญ่ อายุ 26-60 ปี ที่มีภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของผู้ใหญ่ อายุ 26-60  ปี ที่มีภาวะซึมเศร้า

65.00 80.00
3 เพื่อลดเยาวชน อายุ 18-25 ปี ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

ร้อยละของเยาวชน อายุ 18-25 ปี ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

65.00 80.00
4 เพื่อลดเยาวชน อายุ 18-25 ปี ที่มีภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของเยาวชน อายุ 18-25 ปี ที่มีภาวะซึมเศร้า

65.00 70.00
5 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

50.00 65.00
6 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

60.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67
1 ขั้นดำเนินการ(1 ต.ค. 2566-13 ต.ค. 2567) 65,700.00                
รวม 65,700.00
1 ขั้นดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 750 65,700.00 0 0.00
1 ต.ค. 66 - 30 พ.ค. 67 กิจกรรมวันอบรม 250 29,100.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 พ.ค. 67 กิจกรรมสาธิตการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ 250 14,100.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 พ.ค. 67 กิจกรรมรณรงค์การส่งเสริมสุขภาพดี 250 22,500.00 -

วิธีดำเนินการ
1. จัดประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการ 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาเจาะ 3. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประสานวิทยากร จัดเตรียมสถานที่ และจัดเตรียมอุปกรณ์ในการฝึกอบรม
4. ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ โดยวิทยากร ตามเนื้อหา/หลักสูตรดังนี้ 5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 6. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาเจาะ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กวัยเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องของสุขภาพจิต
    1. เกิดกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคโดยลดหวาน มัน เค็ม ในกลุ่มเด็กวัยเรียนและผู้ปกครอง
    2. เกิดการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมในกลุ่มวัยเรียน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ