โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) ”
ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค)
ที่อยู่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาโดยยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และสามารถพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพทั้งด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์และสังคมให้เป็นผู้มีศีลธรรมจริยธรรมปลูกฝังความมีระเบียบวินัยความรับผิดชอบรู้สิทธิและหน้าที่ของตนเองรู้จักบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ในทุกประเทศทุกสังคมเด็กถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดดังนั้นความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กสติปัญญาและสุขภาพของเด็กจะต้องเป็นตัวกำหนดอนาคตของประเทศชาติและชุมชนเด็กที่มีสุขภาพดีและแข็งแรงนั้นสามารถที่จะรับรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆอย่างไม่มีขอบเขตสิ้นสุดมีความอยากรู้อยากเห็นเป็นการพัฒนาที่ดีของชาติหากเด็กมีสุขภาพไม่ดีก็จะทำให้เด็กไม่สามารถรับรู้วิทยากรและทักษะต่าง ๆ ได้ดีทำให้ไม่สามารถเจริญเติบโตเป็นประชากรที่มีสมรรถภาพที่ดีและไม่สามารถสร้างประโยชน์กับสังคมให้เจริญรุ่งเรืองและมั่นคงได้ดังนั้นเพื่อให้เด็กพัฒนาการเต็มตามศักยภาพเด็กจะต้องได้รับการคุ้มครองป้องกันดูแลเอาใจใส่ทั้งทางด้านสุขภาพร่างกายอารมณ์สังคมเด็กจึงจะสามารถเล่าเรียนได้อย่างมีศักยภาพ
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรีจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค)ขึ้นอีกทั้งที่ทางจังหวัดตรังก็ได้อนุมัติให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังโดยงานควบคุมโรคติดต่อดำเนินการสนับสนุนโครงการฯ ดังกล่าวเพื่อลดอัตราป่วยและแพร่โรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชนเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์พร้อมที่จะเรียนรู้พัฒนาได้เต็มตามศักยภาพโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นครูพี่เลี้ยงผู้ปกครองหรือคนใกล้ชิดกับเด็กเพื่อให้เด็กมีความรู้การป้องกันที่ถูกต้องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ
- เพื่อให้ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็กรู้จักวิธีการดูแล และป้องกันโรคให้กับเด็กได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กทุกคนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงปลอดโรค
- เด็กได้รับการดูแลป้องกันโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ
- ผู้ใกล้ชิดกับเด็กรู้วิธีการดูและป้องกันโรคให้กับเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้โครงการ
วันที่ 25 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีกลุ่มเป้าหมายเป็นครูพี่เลี้ยง ผู้ปกครอง หรือคนใกล้ชิดเด็ก ให้ความสนใจกับโครงการดังกล่าวเป็นจำนวนมาก เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 120 คน ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้ เด็กได้รับการคุ้มครอง ป้องกันดูแลเอาใจใสทั้งทางด้านสุขภาพ อารมณ์ สังคม เด็กสามารถเล่าเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรง สมบูรณ์ พร้อมที่จะเรียนรู้ เด็กมีความรู้การป้องกันที่ถูกต้อง สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถถ่ายทอดความรู้แก่กลุ่มเด็กซึ่งกันและกันได้
120
120
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) มีกลุ่มเป้าหมายเป็นครูพี่เลี้ยง ผู้ปกครอง หรือคนใกล้ชิดเด็ก ให้ความสนใจกับโครงการดังกล่าวเป็นจำนวนมาก เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 120 คน ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้ เด็กได้รับการคุ้มครอง ป้องกันดูแลเอาใจใสทั้งทางด้านสุขภาพ อารมณ์ สังคม เด็กสามารถเล่าเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรง สมบูรณ์ พร้อมที่จะเรียนรู้ เด็กมีความรู้การป้องกันที่ถูกต้อง สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถถ่ายทอดความรู้แก่กลุ่มเด็กซึ่งกันและกันได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็กรู้จักวิธีการดูแล และป้องกันโรคให้กับเด็กได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ (3) เพื่อให้ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็กรู้จักวิธีการดูแล และป้องกันโรคให้กับเด็กได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) ”
ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรี
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาโดยยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และสามารถพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพทั้งด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์และสังคมให้เป็นผู้มีศีลธรรมจริยธรรมปลูกฝังความมีระเบียบวินัยความรับผิดชอบรู้สิทธิและหน้าที่ของตนเองรู้จักบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ในทุกประเทศทุกสังคมเด็กถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดดังนั้นความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กสติปัญญาและสุขภาพของเด็กจะต้องเป็นตัวกำหนดอนาคตของประเทศชาติและชุมชนเด็กที่มีสุขภาพดีและแข็งแรงนั้นสามารถที่จะรับรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆอย่างไม่มีขอบเขตสิ้นสุดมีความอยากรู้อยากเห็นเป็นการพัฒนาที่ดีของชาติหากเด็กมีสุขภาพไม่ดีก็จะทำให้เด็กไม่สามารถรับรู้วิทยากรและทักษะต่าง ๆ ได้ดีทำให้ไม่สามารถเจริญเติบโตเป็นประชากรที่มีสมรรถภาพที่ดีและไม่สามารถสร้างประโยชน์กับสังคมให้เจริญรุ่งเรืองและมั่นคงได้ดังนั้นเพื่อให้เด็กพัฒนาการเต็มตามศักยภาพเด็กจะต้องได้รับการคุ้มครองป้องกันดูแลเอาใจใส่ทั้งทางด้านสุขภาพร่างกายอารมณ์สังคมเด็กจึงจะสามารถเล่าเรียนได้อย่างมีศักยภาพ
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรีจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค)ขึ้นอีกทั้งที่ทางจังหวัดตรังก็ได้อนุมัติให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังโดยงานควบคุมโรคติดต่อดำเนินการสนับสนุนโครงการฯ ดังกล่าวเพื่อลดอัตราป่วยและแพร่โรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชนเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์พร้อมที่จะเรียนรู้พัฒนาได้เต็มตามศักยภาพโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นครูพี่เลี้ยงผู้ปกครองหรือคนใกล้ชิดกับเด็กเพื่อให้เด็กมีความรู้การป้องกันที่ถูกต้องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ
- เพื่อให้ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็กรู้จักวิธีการดูแล และป้องกันโรคให้กับเด็กได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กทุกคนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงปลอดโรค
- เด็กได้รับการดูแลป้องกันโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ
- ผู้ใกล้ชิดกับเด็กรู้วิธีการดูและป้องกันโรคให้กับเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้โครงการ |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีกลุ่มเป้าหมายเป็นครูพี่เลี้ยง ผู้ปกครอง หรือคนใกล้ชิดเด็ก ให้ความสนใจกับโครงการดังกล่าวเป็นจำนวนมาก เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 120 คน ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้ เด็กได้รับการคุ้มครอง ป้องกันดูแลเอาใจใสทั้งทางด้านสุขภาพ อารมณ์ สังคม เด็กสามารถเล่าเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรง สมบูรณ์ พร้อมที่จะเรียนรู้ เด็กมีความรู้การป้องกันที่ถูกต้อง สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถถ่ายทอดความรู้แก่กลุ่มเด็กซึ่งกันและกันได้
|
120 | 120 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) มีกลุ่มเป้าหมายเป็นครูพี่เลี้ยง ผู้ปกครอง หรือคนใกล้ชิดเด็ก ให้ความสนใจกับโครงการดังกล่าวเป็นจำนวนมาก เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 120 คน ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้ เด็กได้รับการคุ้มครอง ป้องกันดูแลเอาใจใสทั้งทางด้านสุขภาพ อารมณ์ สังคม เด็กสามารถเล่าเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรง สมบูรณ์ พร้อมที่จะเรียนรู้ เด็กมีความรู้การป้องกันที่ถูกต้อง สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถถ่ายทอดความรู้แก่กลุ่มเด็กซึ่งกันและกันได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็กรู้จักวิธีการดูแล และป้องกันโรคให้กับเด็กได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดความเสี่ยงในการติดต่อของโรคต่าง ๆ (3) เพื่อให้ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็กรู้จักวิธีการดูแล และป้องกันโรคให้กับเด็กได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังป้องกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......