กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง


“ โครงการประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าช้าง ”

ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาณี บำรุงเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าช้าง

ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5209-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าช้าง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าช้าง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าช้าง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5209-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,072.50 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทยในปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นการแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่งแก่ผู้รับบริการ ใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมการแพทย์แผนไทยได้แก่ การนวด อบ ประคบสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การปลูกสมุนไพรเพื่อนำมาใช้เอง ซึ่งประโยชน์ของการนวดชนิดต่างๆสามารถบำบัดอาการปวดเมื่อย ผ่อนคลายความเครียด ปวดหลัง ปวดเอว ฯลฯ ลดการใช้ยาเองได้ การอบสมุนไพรช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนให้ดีขึ้น บำบัดโรคภูมิแพ้ ปวดเมื่อยฯลฯ และการประคบสมุนไพรช่วยลดการอักเสบฟกช้ำของกล้ามเนื้อและข้อได้นอกจากนี้การแปรรูปสมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพช่วยให้ชุมชนนำสมุนไพรที่มีมากมาใช้ให้เกิดประโยชน์เช่นแชมพูสระผมจากอัญชัญโลชั่นกันยุงจากตระไคร้หอม สบู่สมุนไพร การทำลูกประคบสมุนไพร การทำยาอบสมุนไพร การทำน้ำมันหอมระเหย เป็นต้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก การอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และการนำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างปลอดภัย ทั้งทางด้านส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนผู้รับบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าช้างได้เล็งเห็นความสำคัญและตอบสนองความต้องการของชุมชน และต้องการประชาสัมพันธ์กิจกรรมแพทย์แผนไทยครบวงจรจึงได้จัดทำโครงการการพัฒนาบริการด้านแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ถึงประโยชน์จากการนวด ประคบ อบสมุนไพร
  2. 2. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดูแลตนเองโดยใช้การแพทย์ทางเลือกหรือแพทย์แผนไทย เมื่อเจ็บป่วยได้ถูกต้องและปลอดภัย
    2. ประชาชนมีทางเลือกในการดูแลสุขภาพ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคที่เกิดจากการทำงานเช่น ปวดกล้ามเนื้อ
      ปวดศรีษะ เครียด หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่นความดันโลหิตสูง เบาหวาน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรรักษาโรคและการทำลูกประคบ

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมที่ 1.อบรมความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรรักษาโรคและ การทำลูกประคบ ค่าอาหารว่างการอบรม จำนวน 100 คนๆละ 25 บาท / วัน เป็นเงิน 2,500.- ค่าวัสดุการจัดอบรม และ วัสดุการทำลูกประคบ  เป็นเงิน  2,500.- ค่าวิทยากรแผนไทย  1 คน  600 บาท x 3 ชม.  เป็นเงิน 1,800.- ค่าจัดทำป้ายไวนิลพีวีซีสื่อประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในการรักษาอาการปวดเมื่อย การทำลูกประคบ ขนาด 239  * 69 เซนติเมตรคิดเป็น 1.65 ตารางเมตรละ 650 บาท จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน    1,072.50.-
    ค่าจัดทำป้ายไวนิลโฟมบอร์ดพร้อมติดตั้งให้ความรู้เรื่องเรื่องการส่งเสริมแพทย์แผนไทย สมุนไพรไทยขนาด 100 * 80 เซนติเมตรๆละ 750 บาทจำนวน 2 ชุดๆละ 600  บาท เป็นเงิน 1,200.-








    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    100 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดูแลตนเองโดยใช้การแพทย์ทางเลือกหรือแพทย์แผนไทย เมื่อเจ็บป่วยได้ถูกต้องและปลอดภัย 2.ประชาชนมีทางเลือกในการดูแลสุขภาพ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคที่เกิดจากการทำงานเช่น ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศรีษะ เครียด หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่นความดันโลหิตสูง เบาหวาน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ถึงประโยชน์จากการนวด ประคบ อบสมุนไพร
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดูแลตนเองโดยใช้การแพทย์ทางเลือกหรือแพทย์แผนไทย เมื่อเจ็บป่วยได้ถูกต้องและปลอดภัย

     

    2 2. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์
    ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนมีทางเลือกในการดูแลสุขภาพ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคที่เกิดจากการทำงานเช่น ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศรีษะ เครียด หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่นความดันโลหิตสูง เบาหวาน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ถึงประโยชน์จากการนวด ประคบ อบสมุนไพร (2) 2. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าช้าง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5209-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุภาณี บำรุงเพ็ชร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด