กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รหัสโครงการ 67-L3049-3-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาบัน
วันที่อนุมัติ 31 ตุลาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 31 ตุลาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 26,880.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางยูบายด๊ะ หะยีเจ๊ะและ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,101.439place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2566 31 ต.ค. 2567 26,880.00
รวมงบประมาณ 26,880.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 6 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
0.00
2 ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
66.67
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)
47.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องจากการประเมินเฝ้าระวัง ทางภาวะโภชนาการเด็กใรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสาบัน พบว่าช่วงปีงบประมาณ 2567 เด็กมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 6 คน จากเด็กทั้งหมด 21 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อประเมินเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเล็กในศูนย์ 2.เพื่อให้เด็กที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแลแก้ไข
  1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร้อยละ 85 มีภาวะโภชนาการดีขึ้น
  2. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแล
2 เพื่อลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

0.00 0.00
3 เพื่อเพิ่มเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

66.67 80.00
4 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

47.00 30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67ต.ค. 67
1 โครงการการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(1 ธ.ค. 2566-31 ต.ค. 2567) 0.00                      
รวม 0.00
1 โครงการการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีภาวะโภชนาการปกติ 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลแก้ไขภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน)และทุพโภชนาการ(ผอม)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2566 13:42 น.