กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป


“ โครงการเรามาก้าวด้วยกัน ก้าวเพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาซีลา แจกอม๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการเรามาก้าวด้วยกัน ก้าวเพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8412-11-002 เลขที่ข้อตกลง 02/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเรามาก้าวด้วยกัน ก้าวเพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเรามาก้าวด้วยกัน ก้าวเพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเรามาก้าวด้วยกัน ก้าวเพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L8412-11-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลท่าสาปมีพื้นที่ในความรับผิดชอบ จำนวน 6 หมู่บ้าน พบว่า ในปีงบประมาณ 2565 เทศบาลตำบลท่าสาปมีประชากรรวมทั้งหมด 8,161 คน มีผู้สูงอายุ รวม 612 คน คิดเป็นร้อยละ 7.49 ของประชากรทั้งหมด และในปีงบประมาณ 2566 เทศบาลตำบลท่าสาปมีประชากรรวมทั้งหมด 8,210 คน มีผู้สูงอายุ รวม 792 คน คิดเป็นร้อยละ 9.65 ของประชากรทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ 60 - 69 ปี จำนวน 413 คน คิดเป็นร้อยละ 52.15 ของผู้สูงอายุทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ 70 – 79 ปี จำนวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ 32.19 ของผู้สูงอายุทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ 80 – 89 ปี จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 13.00 และผู้สูงอายุที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 2.65 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด (ที่มา: ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ จังหวัดยะลา ปี 2566) และข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลท่าสาป  ในปี 2566 พบว่า มีผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจำนวน 69 คน จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจำนวนผู้สูงอายุ ในพื้นที่เทศบาลตำบลท่าสาปมีจำนวนเพิ่มขึ้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ควรพัฒนาให้ครบทั้ง 9 ประการ เพื่อชีวิตสดใส ได้แก่ (1) อาบน้ำทุกวัน แปรงฟันสะอาด อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง (2) กินอาหารสุกสะอาด วันละ 3 มื้อ ให้ครบ 5 หมู่ (3) ออกกำลังกาย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละนิดไม่เกิน 30 นาที (4) ดื่มน้ำสุกสะอาด อย่าให้ขาดวันละ 6-8 แก้ว (5) พักผ่อนให้เพียงพอ วันละ 6-8 ชั่วโมง ปลอดโปร่งแจ่มใส (6) งดสิ่งเสพติด คบหาญาติมิตรใกล้ชิดครอบครัว (7) ดูแลบ้านเรือน ของใช้ เสื้อผ้า ให้สะอาดน่าใช้ (8) ตรวจสุขภาพให้ถ้วนถี่ ปีละครั้งเป็นอย่างน้อย (9) ฝักใฝ่ในธรรม ประกอบกรรมดี อารีต่อทุกคน โดยเฉพาะสุขภาพในด้านร่างกาย ให้ความสำคัญกับสุขภาพ ให้มีการออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง การพัฒนาทางด้านอารมณ์ ได้แก่ การสร้างเสริมสุขภาพจิตที่ดี รู้จักควบคุมอารมณ์
การทำงานอดิเรกที่ชื่นชอบ การเข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการ การฝึกสมาธิ การพัฒนาด้านสังคม อันได้แก่ การเข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อน การใช้เวลาว่างบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน การปฏิบัติตนโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม การเข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อน การใช้เวลาว่างบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน การปฏิบัติตนโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และการพัฒนาทางด้านสติปัญญา ได้แก่ การเพิ่มทักษะทางด้านความรู้ให้กับตนเอง  การเข้ารับการอบรม เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลท่าสาป ได้ตระหนักถึงเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเรามาก้าวด้วยกัน ก้าวเพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีให้กับผู้สูงอายุอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. 2. เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์/จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ต่อเนื่องให้กับผู้สูงอายุ
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพที่สามารถดูแลตนเองได้ ร้อยละ 80   2. ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 4 กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
    2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้ ร้อยละ 90

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์/จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ต่อเนื่องให้กับผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (2) 2. เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์/จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ต่อเนื่องให้กับผู้สูงอายุ (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเรามาก้าวด้วยกัน ก้าวเพื่อวัยสดใส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 67-L8412-11-002

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนาซีลา แจกอม๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด