กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรัญญา เฉลิมบุญ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5273-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 15 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5273-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานกว่า 40 ปี จนกระทั่งทุกวันนี้ยังไม่มียาที่ใช้รักษาไข้เลือดออก เป็นการรักษาตามอาการเท่านั้น ในปัจจุบันแม้จะมีวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออกมาใช้ แต่ยังคงมีราคาสูง ดังนั้นการป้องกันจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันโรคนี้ คือ การหยุดการแพร่พันธุ์ของยุงลาย เท่าที่ผ่านมาการควบคุมยังได้ผลไม่ดี เนื่องจากเน้นเรื่องการทำลายยุงลายตัวเต็มวัย ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ และการควบคุมยังต้องทำบริเวณกว้าง การควบคุมที่จะให้ได้ผลยั่งยืนควรจะเน้นที่การควบคุมลูกน้ำยุงลาย ซึ่งสามารถทำร่วมกับโรงเรียน วัด มัสยิดหน่วยงานอื่น องค์กรอื่น และส่วนท้องถิ่นอื่น ดังนั้นต้องมีการร่วมมือกันของหน่วยงาน ทั้งด้านการควบคุมสิ่งแวดล้อม การใช้ทางชีวภาพ และการใช้สารเคมี และที่สำคัญคือการให้ความร่วมมือจากเจ้าของบ้านเอง ในการใ้หความสำคัญและตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคไข้เลือดออก อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ กรณีรักษาไม่ทันเวลา กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบตบ.ฉลุง มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. 2552 มาตรา 67 ที่ อบต.มีอำนาจหน้าที่จัดทำสามารถจำแนกได้ 3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 ดังนั้น เพื่อเตรียมการช่วยเหลือทางด้านการสาธารณสุขและประชาชน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลฉลุง
  2. ข้อ 2.เพื่อสร้างแกนนำอาสาสมัครปราบยุงลายในสถานศึกษา
  3. ข้อ 3.เพื่อให้ประชาชนสามารถรับรู้อันตรายจากการระบาดของโรคไข้เลือดออกและสามารถปฏิบัติในการป้องกันตนจากโรคไข้เลือดออกได้
  4. ข้อ 4.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน โรงเรียน วัด มัสยิด
  5. ข้อ 5.เพื่อให้เกิดการควบคุมยุงลายตัวแก่หากมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรค
  2. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับโรรคไข้เลือดออก
  3. อบรมให้แก่กลุ่มเยาวชน และกลุ่มประชาชนทั่วไป
  4. การป้องกันและควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านเรือนตนเองไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและใช้ทรายที่มีฟอส สเปรย์ และโลชั่นทางกันยุงหรือวิธีการอื่น ๆ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.มีแกนนำอาสาสมัครปราบยุงลายครบทุกสถานศึกษาที่สามารถไปขยายผลสู่ นักเรียน ครอบครัวชุมชนในการร่วมกันป้องกันโรคไข้เลือดออก 3.มีการพ่นสารเคมีแบบละอองฝอยหรือหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่ที่ทันเวลา ตามมาตรการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลฉลุง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากค่ามัธยมฐานย้อนหลัง 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

 

2 ข้อ 2.เพื่อสร้างแกนนำอาสาสมัครปราบยุงลายในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : มีแกนนำอาสาสมัครปราบยุงลายครบทุกสถานศึกษา

 

3 ข้อ 3.เพื่อให้ประชาชนสามารถรับรู้อันตรายจากการระบาดของโรคไข้เลือดออกและสามารถปฏิบัติในการป้องกันตนจากโรคไข้เลือดออกได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม

 

4 ข้อ 4.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน โรงเรียน วัด มัสยิด
ตัวชี้วัด : หมู่บ้าน/ชุมชน สามารถควบคุมไข้เลือดออกได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 สถานศึกษาได้รับการพ่นหมอกควันหรือละอองฝอยก่อนเปิดเทอมทุกโรงเรียน

 

5 ข้อ 5.เพื่อให้เกิดการควบคุมยุงลายตัวแก่หากมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในพื้นที่
ตัวชี้วัด : บ้านผู้ป่วยหรือผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกและบ้านรัศมี 100 เมตร ได้รับการพ่นหมอกควัน ละอองฝอย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลฉลุง (2) ข้อ 2.เพื่อสร้างแกนนำอาสาสมัครปราบยุงลายในสถานศึกษา (3) ข้อ 3.เพื่อให้ประชาชนสามารถรับรู้อันตรายจากการระบาดของโรคไข้เลือดออกและสามารถปฏิบัติในการป้องกันตนจากโรคไข้เลือดออกได้ (4) ข้อ 4.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน โรงเรียน วัด มัสยิด (5) ข้อ 5.เพื่อให้เกิดการควบคุมยุงลายตัวแก่หากมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรค (2) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับโรรคไข้เลือดออก (3) อบรมให้แก่กลุ่มเยาวชน และกลุ่มประชาชนทั่วไป (4) การป้องกันและควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5273-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรัญญา เฉลิมบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด