กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี


“ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ”

ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายวีรวรรธน์อินเกื้อ

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 ธันวาคม 2560 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 ธันวาคม 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่าประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างเต็มตัวแล้วทั้งนี้การที่ประเทศใดจะถูกจัดให้อยู่ใน "สังคมผู้สูงอายุ" ประเทศนั้นจะต้องมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด จากข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ปี พ.ศ. 2558 มีผู้สูงอายุอยู่ที่ ร้อยละ 13.8 และคาดว่าปี 2568 ผู้สูงอายุจะอยู่ที่ ร้อยละ 20 การที่สังคมไทยก้างสู่สังคมผู้สูงอายุย่อมส่งผลกระทบที่สำคัญ 2 ประการค่อ 1. ปัญหาที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุเอง ปัญหาด้านสุขภาพ เมื่อบุคคลอย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ร่างกาย หรือ อวัยวะที่ใช้งานมามาก ส่งผลให้เจ็บป่วย โรคภัยไข้เจ็บ มากขึ้น กระทบเกี่ยวกับทุกระบบของร่างกาย ทั้งในด้านตา หู ระบบทางเดินหายใน ผิวหนัง ความดันโลหิต โรคหัวใจ ระบบย่อยอาหาร โรคเกี่ยวกับระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ฯลฯ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เมื่ออยู่ในวัยทำงาน สามารถหารายได้เลี้ยงตัวเองเลี้ยงครอบครัวได้อย่างเต็มที่ แต่เมื่ออย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ สมรรถภาพในการทำงานลดน้อยลง ส่งผลถึงอาชีพและการหารายได้ลดลง ทำให้ผู้สูงอายุปรับตัวไม่ทัน คิดมาก มองตนเองเป็นคนไร้ค่า รู้สึกเหว่หว้า ถูกทอดทิ้ง หมดกำลังใน 2. ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคม เมื่อผู้สูงอายุมากขึ้นแน่นอนสังคมผู้สูงอายุ จะถูกมองว่าเป็นการเพิ่มภาระให้แก่สังคม การที่ประชากรไทยมีอายุสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นไปอีก เพราะประชากรวัยทำงานต้องออกจากกำลังแรงงานปกติแล้ว ผู้สูงอายุต้องกลายเป็นผู้ที่ต้องพึ่งพิงทางเศรษฐกิจต่อประชากรวัยแรงงาน กลายเป็นภาระหนักให้กับประชากรวันแรงงานในรุ่นต่อๆ ไป ประกอบกับผู้สูงอายุมีแนวโน้มอายุยืนขึ้นไปอีก จึงเป็นภาระของครอบครัวลและสังคมที่เกี่ยวข้องในที่สุด ดังนั้นการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 35
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้ารับการอบรมประชุมเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ
    2. ผู้เข้ารับการอบรมประชุมมีความเข้าใจในสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมผู้สูงอายุ
    3. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตให้มีความสุขได้ในสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสังคม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
    ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 35
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวีรวรรธน์อินเกื้อ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด