กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 ”

ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรุฮูดา มะเด็ง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567

ที่อยู่ ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 67-L6961-1-15 เลขที่ข้อตกลง 32/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 67-L6961-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,590.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ จากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย ปี 2553-2583 ของสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) โดยใช้ข้อมูลสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ.2553 ของสํานักงานสถิติแห่งชาติเป็นฐานในการประมาณ พบว่า ในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงถึง 20.5 ล้านคน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32 ของจํานวนประชากรไทยทั้งหมด แต่จะมีประชากรวัยแรงงาน เพียง 35.18 ล้านคน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ที่มีประชากรวัยแรงงานจํานวน 42.74 ล้านคน หรือลดลง 7.6 ล้านคน สถานการณ์เหล่านี้นำมาสู่ปัญหาทั้งด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ สังคม ในด้านสุขภาพพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยจนไม่สามารถดูแลตนเองได้ หรือต้องมีคนดูแล จนกลายเป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงได้ นอกจากนี้ภาพรวมการออมของประชากรวัยแรงงานมีเพียง15ล้านคน ที่อยู่ในระบบการออมเพื่อการเกษียน แต่เงินออมเฉลี่ยที่มีก็อาจจะไม่เพียงพอกับเงินหลังเกษียณขั้นต่ำที่จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อม เพื่อเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพในทุกมิติและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอย่างเหมาะสม ด้งนั้น กระทรวงสาธารณสุข จึงดำเนินการให้สหวิชาชีพได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาติดบ้าน ติดเตียงกันเพิ่มมากขึ้น แพทย์แผนไทยเป็นหนึ่งกลุ่มสหวิชาชีพ ที่เข้ามามีส่วนร่วมต่อการดูแลผู้สูงอายุ ในกรณีการดูแลและฟื้นฟูสุขภาพ โดยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ได้แก่ การรักษาด้วยยาสมุนไพร การนวดบำบัดรักษาโรค รวมทั้งท่ากายบริหารฤาษีดัดตน เป็นต้น ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ2 เป็นอีกหนึ่งสถานพยาบาลที่แพทย์แผนไทยได้เข้ามา แต่เนื่องจากผู้ป่วยทั้งกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียงได้เพิ่มขึ้น จึงทำให้การดูแลเป็นไปอย่างล่าช้า และอาจจะส่งผลต่อการดูแลและฟื้นฟูสุขภาพ ดังนั้น ทางศูนย์แพทย์ใกล้ใจ2 จึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้เป็นแกนนำในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามแนวทางการแพทย์แผนไทยในพื้นที่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ2 อีกทั้งเพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลอย่างทั่งถึงและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามแนวทางการแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลตามแนวทางการรักษาทางแพทย์แผนไทยได้เพิ่มมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดูแลผู้สูงอายุและประชาชนที่สนใจ 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย สามารถนำไปใช้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
  2. ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลตามแนวทางการรักษาทางแพทย์แผนไทยได้เพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามแนวทางการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย สามารถนำไปใช้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลตามแนวทางการรักษาทางแพทย์แผนไทยได้เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลตามแนวทางการรักษาทางแพทย์แผนไทยได้เพิ่มมากขึ้น
30.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ดูแลผู้สูงอายุและประชาชนที่สนใจ 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามแนวทางการแพทย์แผนไทย (2) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลตามแนวทางการรักษาทางแพทย์แผนไทยได้เพิ่มมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปี 2567 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 67-L6961-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรุฮูดา มะเด็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด