กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม. ร่วมใจรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายเชิงรุกในชุมชน ด้วยมาตราการ 3 เก็บ 3 โรค ประจำปี 2567 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายกามารอเด็ง มามะ




ชื่อโครงการ โครงการ อสม. ร่วมใจรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายเชิงรุกในชุมชน ด้วยมาตราการ 3 เก็บ 3 โรค ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-2-10 เลขที่ข้อตกลง 23/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. ร่วมใจรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายเชิงรุกในชุมชน ด้วยมาตราการ 3 เก็บ 3 โรค ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. ร่วมใจรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายเชิงรุกในชุมชน ด้วยมาตราการ 3 เก็บ 3 โรค ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. ร่วมใจรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายเชิงรุกในชุมชน ด้วยมาตราการ 3 เก็บ 3 โรค ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L6961-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,210.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ในปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกยังคงแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องทางกระทรวงสาธารณสุขได้มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานโรงพยาบาล สสอ. รพ.สต. อสม. และประชาชนทั่วไปให้ร่วมกันรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค" ได้แก่ เก็บบ้านให้ปลอดโปร่งไม่ให้ยุงลายเกาะพักเก็บขยะเศษภาชนะไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายและเก็บน้ำ ปิดให้มิดชิดหรือเปลี่ยนถ่ายน้ำทุกสัปดาห์ ไม่ให้ยุงลายวางไข่ ป้องกันโรคจากยุงลาย ข้อมูลจากการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา (506) กองระบาดวิทยา ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2566 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยสะสม 79,475ราย คิดเป็นอัตราป่วย 120.25 ต่อแสนประชากร ผู้เสียชีวิต73 รายคิดเป็นอัตราตาย 0.09 ต่อแสนประชากรปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในเด็ก คือ มีน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วน และในผู้สูงอายุ คือ การมีโรคประจำตัวเรื้อรัง โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคไช้เลือดออกที่สำคัญ ได้แก่ ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า รวมถึงมีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายบริเวณที่พักอาศัย สำหรับในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี 2566 ที่ผ่านมามียอดผู้ป่วยสะสมจำนวน 106 ราย จึงเตรียมการวางแผนการดำเนินงานป้องกันและเพื่อรองรับสถานการณ์ที่อาจจะมีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ชมรม อสม. เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกจึงร่วมกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ร่วมกันจัดกิจกรรมรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและเพื่อให้การดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ทุกชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกและเพื่อลดการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะจึงได้จัดโครงการนี้อย่างต่อเนื่องซึ่งผลการดำเนินงานการรณรงค์ที่ผ่านมาได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดี เกิดความร่วมมือของทุกภาคส่วนในพื้นที่ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการดำเนินงาน ชมรม อสม. เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกจึงได้จัดทำโครงการอสมร่วมใจรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายเชิงรุกในชุมชนด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค ประจำปี 2567 นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และเฝ้าระวังป้องกันระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  2. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำชุมชนกวาดล้างลูกน้ำยุงลาย
  2. รณรงค์ Big Cleaning Day
  3. ติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 207
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์และเฝ้าระวังป้องกันระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะครอบคลุมทุกชุมชน
  2. แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำชุมชนกวาดล้างลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 16 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย อสม. 31 ชุมชน = 207 คน
รายละเอียดกิจกรรม
- อบรมแกนนำเฝ้าระวังป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชน โดยวิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอสุไหงโก-ลก
งบประมาณ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 207 คน เป็นเงิน 6,210 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (ไม่ใช้งบประมาณ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

2. ติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน

วันที่ 16 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย คณะทำงาน จำนวน 30 คน
รายละเอียดกิจกรรม
- กิจกรรมติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน
- สรุปและรายงานผลการดำเนินงานในภาพรวม
งบประมาณ
- อาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน x 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
- ค่าเอกสาร เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

3. รณรงค์ Big Cleaning Day

วันที่ 16 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย อสม. เจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชนและประชาชนทั่วไป 4 โซน โซนละ 50 คน รวม 200 คน
รายละเอียดกิจกรรม
- กิจกรรมรณรงค์ Big Cleaning Day ในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก โดยเจ้าหน้าที่ , อสม. และชาวชุมชนทั้ง 4 โซน โซนละ 2 ครั้งโดยจัดกิจกรรมพร้อมกันทุกโซน เป้าหมายรณรงค์ครั้งละ 200 คน (จาก 4 โซน โซนละ 50 คน) โดยร่วมกันทำกิจกรรมเชิงรุกในชุมชนและพื้นที่ทุกชุมชนและพื้นที่ที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
โดยมีกิจกรรม ดังนี้
- ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังและสำรวจแหล่งลูกน้ำยุงลายให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคและควบคุมโรคที่มียุงลายอาศัยความร่วมมือจากโรงพยาบาล สาธารณสุขอำเภอ ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1,2 อสม. และประชาชนทั่วไปในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
- ลงพื้นที่ ที่มีความเสี่ยงสูงที่สุด เพื่อเฝ้าระวังการเกิดไข้เลือดออก และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พร้อมแจกทรายอะเบทให้แก่ประชาชนในชุมชนเพื่อป้องกันและกำจัดลูกน้ำ
งบประมาณ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 200 คน x 30 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 12,000 บาท
- ทรายอะเบท 8 ถัง ถังละ 5,200 บาท เป็นเงิน 41,600 บาท
- ถุงมือ 20 กล่อง x 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- ถุงขยะ 20 ห่อ x 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
- ป้ายโครงการ 1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และเฝ้าระวังป้องกันระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของชุมชนที่มีการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์และเฝ้าระวังป้องกันระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชนมีความรู้เพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 207
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 207
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และเฝ้าระวังป้องกันระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ (2) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำชุมชนกวาดล้างลูกน้ำยุงลาย (2) รณรงค์ Big Cleaning Day (3) ติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม. ร่วมใจรณรงค์กวาดล้างลูกน้ำยุงลายเชิงรุกในชุมชน ด้วยมาตราการ 3 เก็บ 3 โรค ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกามารอเด็ง มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด