กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค อสม. 4.0ประจำปี 2567 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายกามารอเด็ง มามะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค อสม. 4.0ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-2-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค อสม. 4.0ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค อสม. 4.0ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค อสม. 4.0ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L6961-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อสม. หรือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน คือ บุคลากรที่มีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนงานสาธารณสุขชุมชน เพื่อดูแลสุขภาพของประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และในยุคไทยแลนด์ 4.0 อสม.ได้พัฒนาตนเอง ให้สอดคล้องกับสังคม เรียกว่า อสม. 4.0 ซึ่งการจะเป็นอสม. 4.0 ได้ต้องมีคุณสมบัติ 3 ประการ ประกอบด้วยสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้ เช่น application ต่างๆ ของ อสม. หรือโปรแกรมอื่นๆ ที่กําหนดได้ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยเฉพาะในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหรือเรื่องอื่นๆที่กําหนด มีจิตอาสาและเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ และมีทักษะปฏิบัติการให้การช่วยเหลือสังคมด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้และการที่ อสม. เป็นบุคคลตัวอย่างของผู้ที่มีสุขภาพดี มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม ก็จะส่งผลให้คนในชุมชนเห็นตัวอย่างที่ดี และเกิดความเชื่อมั่นในตัว อสม. ก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการจัดกิจกรรมต่างๆ ช่วยผลักดันการดำเนินงานด้านสุขภาพในชุมชนมากยิ่งขึ้น ดังนั้น กิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ได้รับความรู้ ทักษะในด้านงานสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รวมไปถึงการได้มีโอกาสตรวจสุขภาพ ตรวจสมรรถภาพร่างกายตนเอง ได้ทราบถึงผลการตรวจร่างกายเบื้องต้น คำแนะนำ การให้สุขศึกษาจากเจ้าหน้าที่อย่างถูกต้อง ตลอดจนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ในการดำเนินงานด้านสุขภาพภาคประชาชน กิจกรรมเหล่านี้ล้วนมีความสำคัญที่ทำให้ อสม. และทีมงานสุขภาพภาคประชาชนเกิดความเข้มแข็ง ซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพภาคประชาชนให้ดียิ่งขึ้นประชาชนได้รับความรู้ คำแนะนำที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน ได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพภาคประชาชนที่เข้มแข็งต่อไป จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ชมรม อสม. เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกได้ประสานงานร่วมกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค อสม.4.0 ประจำปี 2567 นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพของตนเอง
  2. เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจและมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. อบรมให้ความรู้และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. กิจกรรม ประชุมติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 207
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง
  2. อสม. มีความรู้ ความเข้าใจและมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เป็นบุคคลต้นแบบในด้านการดูแลสุขภาพแก่คนในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : อสม.ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจและมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : คะแนนแบบทดสอบความรู้ Post test มากกว่า Pre test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
40.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 207
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 207
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจและมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) อบรมให้ความรู้และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (3) กิจกรรม ประชุมติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค อสม. 4.0ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-2-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกามารอเด็ง มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด