กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการอบรมและสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเด็กและเยาวชนริมคลองรักฟุตบอล ประจำปี 2567 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายกามารอเด็ง มามะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมและสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเด็กและเยาวชนริมคลองรักฟุตบอล ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-2-26 เลขที่ข้อตกลง 60/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมและสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเด็กและเยาวชนริมคลองรักฟุตบอล ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมและสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเด็กและเยาวชนริมคลองรักฟุตบอล ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมและสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเด็กและเยาวชนริมคลองรักฟุตบอล ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L6961-2-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชนหรือวัยรุ่น ถือเป็นวัยที่อยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิต เนื่องด้วยวุฒิภาวะที่ยังน้อยทำให้วัยนี้มีพฤติกรรมเสี่ยงที่มีโอกาสก่อให้เกิดปัญหาสังคมอย่างมาก รวมทั้งอาจถูกล่อลวงได้ง่าย นอกจากนี้ยังพบว่ามีวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 18 ปี จำนวนไม่น้อยที่นิยมเที่ยวผับ/สถานเริงรมย์ (ร้อยละ 9) แม้ว่าจะมีกฎหมายห้ามก็ตาม แต่เนื่องจากการบังคับใช้กฎหมายยังไม่จริงจังนัก สถานที่เหล่านี้ถือเป็นแหล่งมั่วสุมสำหรับวัยรุ่นที่หนีไม่พ้นเรื่องดื่มสุรา สูบบุหรี่ ยาเสพดิดหรือมีเพศสัมพันธ์กัน จนนำไปสู่ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร รวมถึงการติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์ ข้อมูลจากสำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2563 พบว่า สาเหตุของการเกิดปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน พบว่ามาจากหลายสาเหตุ จำแนกสาเหตุที่เกิดจากภายในจิตใจของตัวบุคคล เช่น ความคิด ความเชื่อ ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะการใช้ชีวิต นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากสิ่งเร้าของสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่นปัจจัยสิ่งแวดล้อมในสังคมที่มีอิทธิพล เช่น ชุมชน สถานศึกษา กลุ่มเพื่อน ครอบครัว เป็นต้น ทำให้เกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมและเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจูงใจในการเริ่มต้นนำยาทางการแพทย์มาใช้ในทางที่ผิด เพราะอยากรู้อยากลอง
สำหรับแนวทางหรือมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของเด็กและเยาวชนมี 2 แนวทาง ได้แก่ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันภายนอกของเด็กและเยาวชนในระดับบุคคลด้วยการเสริมสร้างการเรียนรู้ฝึกฝนทักษะและการปรับเปลี่ยนวิถีความเชื่อของเด็กและเยาวชน ในการรับมือกับสถานการณ์หรือสิ่งเร้า เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถตัดสินใจแสดงออกพฤติกรรมที่เหมาะสม และการลดทอนสภาพสิ่งเร้าของปัญหายาเสพติด เป็นการจัดการหรือควบคุมสภาพแวดล้อมภายนอกที่อาจส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อเด็กและเยาวชนในการเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด เช่น การจัดการสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา สังคมที่พักอาศัย การจัดการกับพื้นที่ที่มีปัญหายาเสพติดรุนแรง
ดังนั้น หน่วยงานต่างๆ จึงต้องร่วมกันเพื่อให้เยาวชนมีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจและสามารถผชิญกับปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสม ซึ่ง กีฬา เป็นกิจกรรมหนึ่งที่เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยหากมีการส่งเสริมให้เยาวชนได้เล่นกีฬา ก็จะทำให้สามารถห่างไกลจากปัญหาต่างๆในกลุ่มวัยรุ่นและยาวชนได้ กีฬาฟุตบอลเป็นชนิดกีฬาที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความสนใจโดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมเยาวชน ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศชาติ โดยใช้กีฬาฟุบอลเป็นสื่อของการส่งเสริมสร้างเสริมสุขภาพและห่างไกลจากปัญหาต่างๆในกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน สร้างความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ความมีน้ำใจนักกีฬา และสร้างลักษณะนิสัยให้เป็นคนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นอกจากนั้น ยังส่งเสริมให้ยุวชนห่างไกลจากอบายมุขและยาเสพดิต ชมรมฟุตบอลเยาวชนริมคลองสุไหงโก-ลก จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมวิธีป้องกันยาเสพติคในเด็กและเยาวชน เพื่อจะได้สามารถร่วมมือกันปกป้องเด็กและเยาวชน จากปัญหายาเสพติดและยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพของเยาวชนอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และการใช้สื่อออนไลน์ให้เหมาะสม
  2. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม เด็กและเยาวชน ให้มีการออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาฟุตบอลให้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย
  3. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน สร้างความมีน้ำใจนักกีฬา และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ส่งเสริมสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชน มีความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางเพศในวัยรุ่น และพิษภัยของยาเสพติด
  2. เด็กและเยาวชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาฟุตบอลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัย
  3. เด็กและเยาวชน เกิดความสามัคคี มีน้ำใจนักกีฬาและมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และการใช้สื่อออนไลน์ให้เหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และการใช้สื่อออนไลน์ให้เหมาะสมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม เด็กและเยาวชน ให้มีการออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาฟุตบอลให้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัยไม่น้อบกว่าร้อยละ 70
50.00 70.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน สร้างความมีน้ำใจนักกีฬา และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความสามัคคีกัน มีน้ำใจนักกีฬา และมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และการใช้สื่อออนไลน์ให้เหมาะสม (2) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม เด็กและเยาวชน ให้มีการออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาฟุตบอลให้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย (3) เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน สร้างความมีน้ำใจนักกีฬา และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ส่งเสริมสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมและสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเด็กและเยาวชนริมคลองรักฟุตบอล ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-2-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกามารอเด็ง มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด