กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ


“ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน ”

ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปารียา เอนดุด

ชื่อโครงการ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน

ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2511-2-13 เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2511-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือดผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ โรคดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังที่ไม่เหมาะสม จากการสอบถามข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ พบว่า มีการออกกำลังกายน้อย โดยคิดว่าการประกอบอาชีพ เช่น ทำนา ทำสวน ถือเป็นการออกกำลังกายแล้ว และบริโภคอาหาร ไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้ การส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนถือเป็นการจัดปัจจัยเอื้อที่สำคัญเพื่อ ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ส่งผลให้มีสุขภาพแข็งแรง สุขภาพจิตดี ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี
ได้สำรวจค่าดัชนีมวลกายประชาชนอายุ 19-59 ปี ณ วันที่ 14พฤศจิกายน 2566 จากฐานข้อมูลระบบคลังสุขภาพ HDC (Health Data Center) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิตจือแรจำนวน 984มีค่าดัชนีมวลกายสูงกว่า 23 - 25 จำนวน 173 คน คิดเป็นร้อยละ 17.58 ระดับ 1จำนวน 272 คน คิดเป็นร้อยละ 27.64ระดับ 2 จำนวน 109 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 ดังนั้นเพื่อสร้างเสริมสุขภาพร่างกายของประชาชนในพื้นที่ และส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย ให้มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา เกิดเป็นภาคีเครือข่ายสร้างสุขภาพ และส่งผลให้ประชาชนคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน ประจำปี 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดกิจกรรมการออกกำลังกายและควบคุม น้ำหนัก แก่ผู้ที่มีน้ำหนักเกิน BMI 25
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป ประชาชนกลุ่ม เสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถเลือกบริโภคอาหารและควบคุมน้ำหนัก โดยวิธีออกกำลังกายอย่างถูกต้องสม่ำเสมอ
  3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารเพื่อการควบคุมน้ำหนักและสาธิตอาหาร
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและการควบคุมน้ำหนักด้วยอุปกรณ์ฮูล่าฮูป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการบริโภคการออกกำลังกาย มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ลดการเจ็บป่วย ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขี้น มีความรู้รักสามัคคี เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่ชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดกิจกรรมการออกกำลังกายและควบคุม น้ำหนัก แก่ผู้ที่มีน้ำหนักเกิน BMI 25
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนที่มีค่า BMI ในระดับที่อ้วนมาก อ้วน และเริ่มอ้วน มีระดับ BMI ที่ลดลง
80.00 1.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป ประชาชนกลุ่ม เสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถเลือกบริโภคอาหารและควบคุมน้ำหนัก โดยวิธีออกกำลังกายอย่างถูกต้องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : มีประชาชนเข้าร่วมโครงการตามเป้าหมาย จำนวน 20 คน
80.00 1.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดกิจกรรมการออกกำลังกายและควบคุม น้ำหนัก แก่ผู้ที่มีน้ำหนักเกิน BMI 25 (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป ประชาชนกลุ่ม เสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถเลือกบริโภคอาหารและควบคุมน้ำหนัก โดยวิธีออกกำลังกายอย่างถูกต้องสม่ำเสมอ (3) เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารเพื่อการควบคุมน้ำหนักและสาธิตอาหาร (2) อบรมเชิงปฏิบัติการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและการควบคุมน้ำหนักด้วยอุปกรณ์ฮูล่าฮูป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2511-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปารียา เอนดุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด