กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
รหัสโครงการ 67-L7012-2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
วันที่อนุมัติ 10 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศุภวรรณ์ บุญละเอียด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.789,101.135place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงมะเร็งเต้านม
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบัน โรคมะเร็งเต้านมมีอัตราป่วยและอัตราตายที่สูงขึ้นทั่วโลก และเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 ของมะเร็งในสตรีไทยมากกว่า 10 ปี อุบัติการณ์มะเร็งเต้านมในประเทศไทยมีประมาณ 30 ต่อแสนประชากร แต่ประเทศไทย ยังไม่มีโครงการใดที่รองรับอันตรายจากมะเร็งเต้านมอย่างเป็นระบบ สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ได้ทรงก่อตั้งมูลนิธิถันยรักษ์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เพื่อให้สตรีไทยทุกคนไม่ว่าจะยากดีมีจน พ้นจากภัยมะเร็งเต้านม สำหรับประเทศไทย การใช้ Mammogram ที่เป็นเทคโนโลยีราคาแพง เพื่อการคัดกรองมะเร็งเต้านมในประทศกำลังพัฒนานั้น เป็นไปได้ยาก แม้ในสหรัฐอเมริกาที่ใช้ Mammogram ทำการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ยังสามารถทำได้เพียง 75 % แต่ประเทศไทยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ที่จะช่วยสอนและกระตุ้นกลุ่มสตรีไทยในชนบทให้ทำการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ    โดยกรมอนามัยและมูลนิธิถันยรักษ์จึงได้สนับสนุนให้สตรีไทยมีความรู้เรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 จากการประเมินผลการดำเนินงาน ประสิทธิภาพการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีไทย มีแนวโน้มว่าการตรวจเต้านมด้วยตนเอง มีประสิทธิภาพ ทำให้พบก้อนของมะเร็งเต้านม (Cancer Size) มีขนาดเล็ดลง และพบระยะการเป็นมะเร็งเต้านม ได้เร็วขึ้น (Early Staging) โดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างกลุ่มที่ตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ กับกลุ่มที่ตรวจ ไม่สม่ำเสมอ

ดังนั้น เพื่อเป็นการเพื่อสืบสานพระราชประสงค์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ผู้ก่อตั้งมูลนิธิถันยรักษ์ฯ ให้ผู้หญิงไทยพ้นภัยมะเร็งเต้านม และเพื่อคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยการตรวจเต้านมด้วยตนเองโดยส่งเสริมให้สตรีไทยมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมตนเองที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ส่งเสริมให้สตรีมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมตนเองที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ

ร้อยละ 20 ของสตรีมีพฤติกรรมเสี่ยง สามารถตรวจเต้านมตนเองที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ

50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 จัดอบรมให้ความรู้(1 มี.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 25,000.00                      
รวม 25,000.00
1 จัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 25,000.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 100 25,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2566 15:31 น.