กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ไม่สามารถดำเนินการกิจกรรมตามแผนการดำเนินโครงการที่กำหนดไว้ เนื่องจากผู้รับผิดชอบโครงการมีคำสั่งย้ายให้ช่วยปฏิบัติราชการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแห่งใหม่ ในช่วงเวลาระหว่างดำเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
6.00 3.00 3.00

หลังได้รับการดูแลผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
2.00 6.00 6.00

ผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น

3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
16.00 10.00 10.00

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

4 เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น
12.00 12.00 12.00

มีการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคลของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

5 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
15.00 10.00 10.00

ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานมีจำนวนลดลง

6 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
42.00 15.00 15.00

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีจำนวนลดลง

7 เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
5.00 5.00 5.00

ผู้พิการที่จำเป็นต้องได้รับกายอุปกรณ์ ได้รับกายอุปกรณ์

8 เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
3.00 3.00 3.00

ผู้พิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย มีจำนวนลดลง

9 ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
5.00 80.00 80.00

ผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ 7
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 9
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (4) เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ (5) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (6) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (7) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต (8) เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย (9) ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุ (2) 2.กิจกรรมบริการอุปกรณ์ เครื่องมือจำเป็นในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (3) 3. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เครื่องมือแพทย์ในตำบลปูโยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh