โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร ”
ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอดียะห์ ยามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร
กรกฎาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร
ที่อยู่ ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2533-2-02 เลขที่ข้อตกลง 5/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2533-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กรกฎาคม 2567 - 30 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย มักระบาดในช่วงหน้าฝน โดยมีพาหะของโรคคือยุงลาย ส่วนใหญ่มักระบาดในเด็กวัยเรียน ช่วงอายุ 10 - 14 ปี บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ โดยจังหวัดนราธิวาส เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องทุกปีจึงได้มีการเน้นให้มีการควบคุมโรคเป็นนโยบายหลักของงานด้านสาธารณสุข อำเภอสุคิริน เป็นอำเภอหนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ของจังหวัดนราธิวาส โดยเฉพาะในเขตตำบลร่มไทร สถิติทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลังตั้งแต่ปี 2562- 2566 เรียงตามลำดับ ดังนี้ 5 ปี ย้อนหลังอัตราป่วย 41.20, 41.20, 20.60, 0.00, 34.54 ต่อแสนประชากร และสาเหตุจากยุงที่เป็นพาหะนำโรค และการกำจัดขยะไม่ถูกต้อง ประกอบกับสภาพพื้นที่ของตำบลที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการระบาดของโรคนอกจากนี้พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทำให้ไม่มีการตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เช่น การนอนไม่กางมุ้ง การกำจัดขยะ เป็นต้นจึงทำให้โรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดตลอดปี และมีการระบาดในทุกกลุ่มอายุ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลร่มไทร ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการควบคุมปัญหาดังกล่าว จึงมีการจัดทำโครงการ จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น และเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคนำโดยแมลงดังกล่าว ปัจจุบันมีปัญหาสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงและเกิดการระบาดของโรคต่างๆ มากขึ้น และยังมีผลกระทบต่อการเพาะพันธุ์ยุงซึ่งเป็นพาหนะของโรค ทำให้เกิดการระบาดของโรคมมากขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะบริเวณชายแดนที่มีการระบาดต่อเนื่องมากขึ้นทุกปี
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลร่มไทร ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก จึงต้องมีการกระตุ้นให้ชุมชน โรงเรียน ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคด้วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน เพื่ิอให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรียน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนทั่วไป
50
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
2.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกดลงร้อยละ 20 ของมัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนได้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุง
0
0
2. ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรียน
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรีย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรีย
0
0
3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกดลงร้อยละ 20 ของมัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
50.00
20.00
2
2. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ชุมชนและโรงเรียนให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
0.00
3
3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ประชาชนทั่วไป
50
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรียน (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2533-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรอดียะห์ ยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร ”
ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอดียะห์ ยามา
กรกฎาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2533-2-02 เลขที่ข้อตกลง 5/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2533-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กรกฎาคม 2567 - 30 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย มักระบาดในช่วงหน้าฝน โดยมีพาหะของโรคคือยุงลาย ส่วนใหญ่มักระบาดในเด็กวัยเรียน ช่วงอายุ 10 - 14 ปี บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ โดยจังหวัดนราธิวาส เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องทุกปีจึงได้มีการเน้นให้มีการควบคุมโรคเป็นนโยบายหลักของงานด้านสาธารณสุข อำเภอสุคิริน เป็นอำเภอหนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ของจังหวัดนราธิวาส โดยเฉพาะในเขตตำบลร่มไทร สถิติทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลังตั้งแต่ปี 2562- 2566 เรียงตามลำดับ ดังนี้ 5 ปี ย้อนหลังอัตราป่วย 41.20, 41.20, 20.60, 0.00, 34.54 ต่อแสนประชากร และสาเหตุจากยุงที่เป็นพาหะนำโรค และการกำจัดขยะไม่ถูกต้อง ประกอบกับสภาพพื้นที่ของตำบลที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการระบาดของโรคนอกจากนี้พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทำให้ไม่มีการตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เช่น การนอนไม่กางมุ้ง การกำจัดขยะ เป็นต้นจึงทำให้โรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดตลอดปี และมีการระบาดในทุกกลุ่มอายุ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลร่มไทร ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการควบคุมปัญหาดังกล่าว จึงมีการจัดทำโครงการ จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น และเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคนำโดยแมลงดังกล่าว ปัจจุบันมีปัญหาสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงและเกิดการระบาดของโรคต่างๆ มากขึ้น และยังมีผลกระทบต่อการเพาะพันธุ์ยุงซึ่งเป็นพาหนะของโรค ทำให้เกิดการระบาดของโรคมมากขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะบริเวณชายแดนที่มีการระบาดต่อเนื่องมากขึ้นทุกปี ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลร่มไทร ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก จึงต้องมีการกระตุ้นให้ชุมชน โรงเรียน ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคด้วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน เพื่ิอให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรียน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ประชาชนทั่วไป | 50 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
2.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกดลงร้อยละ 20 ของมัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนได้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุง
|
0 | 0 |
2. ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรียน |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรีย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรีย
|
0 | 0 |
3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกดลงร้อยละ 20 ของมัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง |
50.00 | 20.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ชุมชนและโรงเรียนให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ประชาชนทั่วไป | 50 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) 2. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนและโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นในชุมชน มัสยิด โรงเรียน (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกและเรียนรู้การทำสมุนไพรไล่ยุงแก่ประชาชนทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลร่มไทร จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2533-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรอดียะห์ ยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......