โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอานีซะ หมันอิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3010-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมผู้สูงอายุ เป็นแนวโน้มที่ทุกชาติทั่วโลกจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในปี 2565 ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” โดยมีประชากรอายุมากกว่า 60 ปี กว่า 12.9 ล้านคน หรือ 20% จากประชากรทั้งหมด และมีการคาดประมาณว่าในอีกไม่เกิน 15 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” รัฐบาลไทยจึงได้ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาผู้สูงอายุด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและป้องกันความพิการ การดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยจึงมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่เริ่มมีความถดถอยของร่างกาย แต่ยังใช้ชีวิตประจำวันด้วยตนเอง เราสามารถตรวจพบได้อย่างรวดเร็วและให้กระบวนการส่งเสริมป้องกันอย่างต่อเนื่อง ได้อย่างเหมาะสม ในแต่ละบุคคลจะสามารถฟื้นฟูร่างกายและชะลอการเข้าสู่ภาวะพึ่งพิง และภาวะติดบ้านติดเตียงได้ ด้วยการใช้แบบคัดกรองในชุมชนโดยอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โดยใช้การคัดกรอง สุขภาพผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านความคิดความจำ 2. ด้านการเคลื่อนไหวร่างการ 3. ด้านการขาดสารอาหาร 4. ด้านการมองเห็น 5. ด้านการได้ยิน 6. ด้านภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 7. ด้านการกลั้นปัสสาวะ 8. ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และ 9. ด้านการดูแลช่องปาก จากการสำรวจพบว่าในพื้นที่ตำบลคลองมานิง มีผู้สูงอายุทั้งหมด 338 ราย เป็นกลุ่มติดสังคมจำนวน 318 ราย กลุ่มติดบ้านจำนวน 16 ราย และกลุ่มติดเตียง จำนวน 4 ราย และจากการประเมินผู้สูงอายุ 9 ด้านพบว่ามีผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยง อย่างน้อย 1 ข้อ จำนวน 150 ราย คิดเป็นร้อยละ 44.38 ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่ต้องรีบดำเนินการแก้ไข
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในฐานะผู้มีจิตอาสาในชุมชน เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้ง 9 ด้าน ซึ่งจะนำไปสู่การมีสุขภาพดีและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านความคิดความจำ ด้านการได้ยิน ด้านการมองเห็นและ ด้านภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
- กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมสุขภาพ 9 ด้าน
2.ผู้สูงอายุมีความสามารถในการประเมินตนเองและมีทักษะในการส่งเสริมสุขภาพตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านความคิดความจำ ด้านการได้ยิน ด้านการมองเห็นและ ด้านภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (2) กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอานีซะ หมันอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอานีซะ หมันอิ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3010-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมผู้สูงอายุ เป็นแนวโน้มที่ทุกชาติทั่วโลกจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในปี 2565 ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” โดยมีประชากรอายุมากกว่า 60 ปี กว่า 12.9 ล้านคน หรือ 20% จากประชากรทั้งหมด และมีการคาดประมาณว่าในอีกไม่เกิน 15 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” รัฐบาลไทยจึงได้ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาผู้สูงอายุด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและป้องกันความพิการ การดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยจึงมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่เริ่มมีความถดถอยของร่างกาย แต่ยังใช้ชีวิตประจำวันด้วยตนเอง เราสามารถตรวจพบได้อย่างรวดเร็วและให้กระบวนการส่งเสริมป้องกันอย่างต่อเนื่อง ได้อย่างเหมาะสม ในแต่ละบุคคลจะสามารถฟื้นฟูร่างกายและชะลอการเข้าสู่ภาวะพึ่งพิง และภาวะติดบ้านติดเตียงได้ ด้วยการใช้แบบคัดกรองในชุมชนโดยอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โดยใช้การคัดกรอง สุขภาพผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านความคิดความจำ 2. ด้านการเคลื่อนไหวร่างการ 3. ด้านการขาดสารอาหาร 4. ด้านการมองเห็น 5. ด้านการได้ยิน 6. ด้านภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 7. ด้านการกลั้นปัสสาวะ 8. ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และ 9. ด้านการดูแลช่องปาก จากการสำรวจพบว่าในพื้นที่ตำบลคลองมานิง มีผู้สูงอายุทั้งหมด 338 ราย เป็นกลุ่มติดสังคมจำนวน 318 ราย กลุ่มติดบ้านจำนวน 16 ราย และกลุ่มติดเตียง จำนวน 4 ราย และจากการประเมินผู้สูงอายุ 9 ด้านพบว่ามีผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยง อย่างน้อย 1 ข้อ จำนวน 150 ราย คิดเป็นร้อยละ 44.38 ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่ต้องรีบดำเนินการแก้ไข
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในฐานะผู้มีจิตอาสาในชุมชน เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้ง 9 ด้าน ซึ่งจะนำไปสู่การมีสุขภาพดีและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านความคิดความจำ ด้านการได้ยิน ด้านการมองเห็นและ ด้านภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
- กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมสุขภาพ 9 ด้าน 2.ผู้สูงอายุมีความสามารถในการประเมินตนเองและมีทักษะในการส่งเสริมสุขภาพตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านความคิดความจำ ด้านการได้ยิน ด้านการมองเห็นและ ด้านภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (2) กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ชมรมผู้สูงวัยตำบลคลองมานิง มีสุขภาพดี 9 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอานีซะ หมันอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......