กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิรัตน์สร ชุมแสง/นางสุวีณา ขวัญหมัด

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5251-1-01 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5251-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 187,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยุงลายเป็นสัตว์พาหะนำโรคที่สำคัญ เพราะสามารถทำให้เกิดโรคในมนุษย์ได้ถึง 3 โรค คือโรคไข้เลือดออก
โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ดังนั้น การกำจัดยุงลาย จึงเป็นมาตรการควบคุมและป้องกันโรคที่สำคัญ         จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสงขลา (ข้อมูล ตั้งแต่ 1 มกราคม – 24 ตุลาคม 2566) พบผู้ป่วยไข้เลือดออกสะสม จำนวน 5,472 ราย จำแนกเป็น เพศชาย 2,745 ราย เพศหญิง 2,727 ราย พบผู้เสียชีวิตสะสม 5 ราย กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15-24 ปี รองลงมาอายุ 10 -14 ปี และกลุ่มอายุ 5-9 ปี ตามลำดับ โดยพบว่าอาชีพที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกสูงสุด คือ นักเรียน รับจ้าง และในปกครอง ตามลำดับ อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือ อำเภอสะเดา (659.43) รองลงมา อำเภอหาดใหญ่ (341.47) อำเภอเมืองสงขลา (316.94) อำเภอสิงหนคร (302.94) และบางกล่ำ (234.42) ตามลำดับ (ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา)
        สำหรับสถานการณ์ไข้เลือดออกของตำบลสำนักขาม ย้อนหลัง 10 ปี พบว่ามีการระบาดมากที่สุดในปี พ.ศ.2556 พบผู้ป่วยจำนวน 129 ราย เมื่อปี พ.ศ. 2560 พบผู้ป่วยจำนวน 90 ราย และปี พ.ศ.2562 พบผู้ป่วยจำนวน 24 ราย สำหรับปี พ.ศ. 2566 พบว่าตำบลสำนักขามมีอัตราป่วยเป็นอันดับที่ 3 ของอำเภอสะเดา คิดเป็น 865.1 ต่อแสนประชากร และมีจำนวนผู้ป่วยเป็นอันดับที่ 5 ของอำเภอสะเดา จำนวน 123 ราย ซึ่งมีแนวโน้มที่ต้องเฝ้าระวังประกอบกับช่วงฤดูฝนของทุกปี จะเป็นฤดูที่มีการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายสูงสุด เนื่องจากฝนที่ตกมาทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ทำให้จำนวนยุงลายเพิ่มมากกว่าช่วงอื่นๆ ของปี ดังนั้นโรคที่ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษในช่วงนี้ คือ โรคที่มียุงลายเป็นพาหะเช่น โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกที่แม้ว่าปัจจุบันจะมีแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา แต่ยังคงวางใจไม่ได้ต้องดำเนินการเฝ้าระวังควบคุมโรคอย่างเข้มข้นต่อไป กระทรวงสาธารณสุข แนะมาตรการ “3 เก็บ 3 โรค” ได้แก่ 3 เก็บ ในมาตรการนี้มุ่งเน้นไปที่การควบคุมยุงลายไม่ให้แพร่พันธุ์ และป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด ต้องเก็บสิ่งต่างๆ ดังนี้
          1.เก็บบ้าน บ้านที่เป็นระเบียบร้อยนอกจากจะให้ความสวยงามแล้ว ก็ยังทำให้บรรยากาศมีความปลอดโปร่ง จึงไม่มีที่ให้ยุงลายไปหลบซ่อนอยู่
          2.เก็บขยะ กองขยะในบ้านนอกจากจะดูไม่สวยงามแล้ว เมื่อฝนตกลงมาอาจเกิดน้ำขังและกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ในที่สุด
          3.เก็บน้ำ แหล่งน้ำในบ้านนั้นอาจกลายเป็นที่ที่ยุงลายใช้แพร่พันธุ์ได้หากไม่ดูแลให้ดี โดยเฉพาะแหล่งน้ำนิ่งที่ไม่มีการเคลื่อนไหว ต้องปิดให้มิดชิด เปลี่ยนน้ำอย่างสม่ำเสมอ หรือเลี้ยงปลาหางนกยูงในแหล่งน้ำเพื่อกำจัดลูกน้ำยุง
        การปฏิบัติตามมาตรการนี้จะช่วยป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะทั้ง 3 โรคได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ซึ่งการป้องกันควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกวางขวาง ได้แก่การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้า ที่มนุษย์สร้างขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศ ทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านั้นทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเป็นไปอย่างรวดเร็ว
        ด้วยเหตุนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสำนักขาม จึงจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ประจำปี 2567 เพื่อควบคุมและป้องกันโรค ล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค โดยอาศัยความร่วมมือทั้งจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชน ร่วมกันรณรงค์ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีความปลอดภัยต่อโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค
  2. 2. เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
  2. 2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อป้องกันและควบคุมโรค
  3. 3. กิจกรรมพ่นสารเคมีป้องกันและควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ และประชาชนในตำบลสำนักขาม เห็นความสำคัญของปัญหา ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลง และไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
1.00

 

2 2. เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถดำเนินการควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคได้ โดยวัดจาก - ในโรงเรียน สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมร้อยละ 80 โดยแต่ละโรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=0) - ในชุมชน สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในทุกครัวเรือนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ 10 (ค่า HI ไม่เกิน 10 )
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 14000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค (2) 2. เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน (2) 2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อป้องกันและควบคุมโรค (3) 3. กิจกรรมพ่นสารเคมีป้องกันและควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5251-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิรัตน์สร ชุมแสง/นางสุวีณา ขวัญหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด