กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม


“ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุวีณาขวัญหมัด/นายนนท์วัฒน์ เส็มสา

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5251-1-03 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5251-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกรายงานว่า อุบัติเหตุที่เสียชีวิตจากการจมน้ำในแต่ละปีประมาณ ๓๗๒,๐๐๐ คน มากกว่าร้อยละ ๕๐ อยู่ในกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๕ ปี ในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เป็นสาเหตุอันดับที่ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และเอดส์ สำหรับในประเทศไทย พบเด็กที่อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตเป็นอันดับ ๑ มากกว่าเด็กที่เป็นไข้เลือดออก และจากการจราจร ซึ่งในรอบ ๑๐ ปี ที่ผ่านมาระหว่าง พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๖๐ มีเด็กที่อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจำนวน ๙,๕๗๔ คน เฉลี่ยเดือนละ ๘๐ คน
        จากข้อมูลมรณบัตร กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2555-2564 พบว่า คนไทยเสียชีวิตจากการจมน้ำที่มีสาเหตุมาจาก Accidental drowning จำนวน 35,915 คน หรือเฉลี่ยวันละ 10 คน อัตราการเสียชีวิตอยู่ในช่วง 4.8-6.3 ต่อประชากรแสนคน โดยในช่วง 8 เดือน (มกราคม – สิงหาคม) ของปี พ.ศ.2565 พบว่าทุกกลุ่มอายุเสียชีวิตจากการจมน้ำ จำนวน 2,883 คน เมื่อจำแนกเฉพาะกลุ่มเด็กอายุตำกว่า 15 ปี พบว่าช่วง 10 ปี (พ.ศ. 2555 – 2564) มีเด็กจมน้ำเสียชีวิต จำนวน 7,374 คน หรือเฉลี่ยวันละ 2 คน ส่วนมากเกิดจากการลงไปเล่นน้ำหรือพลัดตกลงไปในแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น บ่อขุด อ่างน้ำ เพราะบ่อน้ำมักจะมีลักษณะที่ลาดชันและลึก ซึ่งบางแห่งไม่มีการสร้างรั้วหรือติดป้ายหรือมีอุปกรณ์ในการช่วยเหลือ ปัญหาจากภัยทางน้ำนอกจากจะนำไปสู่การสูญเสียชีวิตและเกิดความพิการโดยไม่สมควรแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งปัจจัยสำคัญของการรอดชีวิตคือ การที่ผู้ประสบภัยต้องสามารถช่วยเหลือตนเองโดยสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ และสามารถให้การช่วยเหลือผู้ที่กำลังจะจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในระยะเวลารวดเร็ว จึงจะสามารถช่วยลดการสูญเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคต     งานการแพทย์ฉุกเฉิน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสำนักขาม จึงจัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 ให้แก่เยาวชนในพื้นที่เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อจัดให้มีการสอนการลอยตัว การว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด และวิธีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(ตะโกน ยื่น โยน)ให้เยาวชน ซึ่งเป็นทักษะขั้นพื้นฐานที่เด็กและเยาวชนไทยทุกคนต้องได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ การจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดเทศบาลตำบลสำนักขาม จำนวน 3 แห่ง เพื่อสอนให้รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง เน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” และสามารถตะโกนขอความช่วยเหลือได้ รวมทั้งการสำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งน้ำเสี่ยง พร้อมจัดทำป้ายคำเตือน และจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับช่วยคนตกน้ำ เพื่อเป็นการป้องกันการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้เด็ก เยาวชนในพื้นที่ ครูผู้ดูแลและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ
  2. ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด และสามารถช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) ได้
  3. ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล
  4. ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
  5. 5.เพื่อให้มีข้อมูลของแหล่งน้ำเสี่ยง และสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งน้ำเสี่ยงให้ปลอดภัยได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ป้องกันการจมน้ำแก่ครูผู้ดูแลและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (สังกัดเทศบาลตำบลสำนักขาม 3 แห่ง)
  2. 2.กิจกรรมลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR)
  3. 3.กิจกรรมรณรงค์ป้องกันการจมน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 175
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ ๒. เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ ๓. เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล ๔. เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน 5. ครูผู้ดูแลและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง เน้น “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” และสามารถตะโกนขอความช่วยเหลือได้ 5. ลดความเสี่ยงของเหตุจมน้ำ ในแหล่งน้ำเสี่ยงต่างๆ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้เด็ก เยาวชนในพื้นที่ ครูผู้ดูแลและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ 7๐
1.00

 

2 ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด และสามารถช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) ได้
ตัวชี้วัด : มีข้อมูลของแหล่งน้ำเสี่ยง และสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งน้ำเสี่ยงให้ปลอดภัยได้ ร้อยละ 90
1.00

 

3 ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล
1.00

 

4 ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
1.00

 

5 5.เพื่อให้มีข้อมูลของแหล่งน้ำเสี่ยง และสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งน้ำเสี่ยงให้ปลอดภัยได้
ตัวชี้วัด : เพื่อให้มีข้อมูลของแหล่งน้ำเสี่ยง และสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งน้ำเสี่ยงให้ปลอดภัยได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 175
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 175
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็ก เยาวชนในพื้นที่ ครูผู้ดูแลและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ (2) ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด และสามารถช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) ได้ (3) ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล (4) ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (5) 5.เพื่อให้มีข้อมูลของแหล่งน้ำเสี่ยง และสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งน้ำเสี่ยงให้ปลอดภัยได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ป้องกันการจมน้ำแก่ครูผู้ดูแลและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (สังกัดเทศบาลตำบลสำนักขาม 3 แห่ง) (2) 2.กิจกรรมลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) (3) 3.กิจกรรมรณรงค์ป้องกันการจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5251-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวีณาขวัญหมัด/นายนนท์วัฒน์ เส็มสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด