กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
อบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มสงสัยป่วยจากการคัดกรอง 1 มี.ค. 2567

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน 1 ก.พ. 2567 14 ก.พ. 2567

 

จัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องของศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ร่วมกับนักวิชาการสาธารณสุข กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลพัทลุง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 22 คน

 

อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวานจากการคัดกรอง 1 มี.ค. 2567 29 พ.ค. 2567

 

อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มสงสัยป่วยจากการคัดกรองความดันโลหิตสูง เบาหวาน ให้ความรู้โดยวิทยากร จากกลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลพัทลุง แบ่งเป็น 3 กิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจประเมินร่างกาย เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว ประเมินดัชนี้มวลกายและประเมินองค์ประกอบมวลกาย 2.กิจกรรมให้ความรู้ พร้อมสาธิตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน 3.กิจกรรมให้ความรู้ พร้อมสาธิตปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการออกกำลังกายสร้างกล้ามเนื้อ

 

จำนวนกลุ่มเป้าหมายกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน เข้ารับการอบรมจำนวน 50 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และมีพฤติกรรม ด้านอาหาร อารมณ์ การออกกำลังกายดีขึ้น และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน

 

การติดตามผล - ติดตามผลหลังการอบรม 1-2 เดือน (ครั้งที่ 1) 1 มิ.ย. 2567 26 มิ.ย. 2567

 

1.ติดตามรายบุคคลในคลินิก DPAC ทุกๆ 1-2 เดือน
2.ติดตามพฤติกรรม 3อ2ส ติดตามวัดประเมินองค์ประกอบมวลกาย

 

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และมีพฤติกรรม ด้านอาหาร ด้านอารมณ์ การออกกำลังกายดีขึ้น 2.กลุ่มเป้าหมายเบาหวานมีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง 3.กลุ่มเป้าหมายความดันโลหิตสูงมีค่าความดันลดลง

 

การติดตามผล ติดตามผลหลังการอบรม 3 เดือน (ครั้งที่ 2) 1 ส.ค. 2567 14 ส.ค. 2567

 

ติดตามผลหลังการอบรม 3 เดือน กิจกรรมติดตามผล พร้อมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ยังคงเป็นปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย พร้อมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ต่อเนื่อง

 

1.กลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้ และมีพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ การออกกำลังกายดีขึ้น ร้อยละ 70 2.กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานมีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลงอย่างน้อยร้อยละ 20 3.กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตลดลงอย่างน้อยร้อยละ 20 4.กลุ่มเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย และรับการรักษาต่อตามเกณฑ์ ร้อยละ 100   กลุ่มสงสัยป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตลอดจนเสร็จสิ้นโครงการ กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย 25 คน  สามารถเข้าร่วมกิจกรรมตลอดโครงการได้เพียง 24  คน คิดเป็นร้อยละ 96.0
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานที่สามารถกลับไปเป็นกลุ่มเสี่ยง 14 คน คิดเป็นร้อยละ 58.33  กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานเหมือนเดิม 9 คน คิดเป็นร้อยละ  37.5 และกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานเป็นกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรค  1  คน คิดเป็นร้อยละ 4.16  และกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย 25 คน สามารถเข้าร่วมกิจกรรมตลอดโครงการได้เพียง 23 คน คิดเป็นร้อยละ  92.0 กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่สามารถกลับไปเป็นกลุ่มเสี่ยง 14  คน คิดเป็นร้อยละ 60.86  กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงเหมือนเดิม 7  คน คิดเป็นร้อยละ 30.43 และกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรค 2 คน คิดเป็นร้อยละ 8.69 ซึ่งกลุ่มสงสัยป่วยจะได้รับการส่งต่อคลินิก Wellness Center (ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงาน) และกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาร้อยละ 100