กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ 6 ติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน2 กรกฎาคม 2567
2
กรกฎาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลชะรัด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดและสามารถติดตามภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ ในระยะเวลา 3 เดือน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมที่ 5-6 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด และติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน ในครั้งนี้จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 พบว่าผู้สูงอายุมีความสนใจและเข้าใจถึงกระบวนการดูแลสุขภาพโดยการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด ในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง และบุคคลรอบข้างได้ ซึ่งการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดในครั้งนี้ผู้สูงอายุยังได้เรียนรู้ถึงกิจกรรมต่างๆที่สามารถประยุกต์ในชิวิตประจำวันของตนเองได้ ซึ่งในการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดทางผู้จัดได้นำเสนอในรูปแบบการฝีกลมหายใจประกอบท่าทางที่ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพในยามว่าง เช่นการใช้เพลงลทมหายใจเข้าออก ของธรรมะเสถียร เพื่อกระตู้นให้ผู้สูงอายุมีสธิการฝึกช่วงการหายใจและประกอบด้วยท่าทางที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุในการทำกิจกรรม ซึ่งผลการฝึกด้วยดนตรีบำบัดครั้งที่ 1 มีผู้สูงอายสามารถเข้าใจและปฏิบัติได้ จำนวน 60 คน  คิดเป็นร้อยละ 100.00 และในกิจกรรมที่ 2 เป็นการฝึกการยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยฤาษีคัดตน 15 ท่า พร้อมกับใช้เสียงเพลงประกอบ ในการฝึกอารมณ์และสมาธิ ซึ่งท่าที่ใช้ในการฝึกครั้งนี้ มีแค่ 8 ท่า เพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ โดยการฝึกในกิจกรรมที่ 2 พบว่าจากจำนวน 60 คน มีผู้สาสามารถปฏิบัติได้ จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 และกิจกรรมที่ 3 คือการใช้ท่าทางการรำในการประกอบกิจกรรมเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเป็นกิจกรรมที่สามารถช่วยลดความเครียดในตัวเองและสร้างกิจกรรมกลุ่มในชุมชน โดยกิจกรรมนี้ มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน และสามารถปฏิบัติได้จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และในกิจกรรมที่ 6 ติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน ผู้สูงอายุได้ประเมินแบบสอบถามด้วยตนเองพบว่า ไม่มีภาวะเครียดในตัวเอง คิดเป็น 100.00 จากผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ซึ่งทำให้ให้พบว่า กิจกรรมที่ 5-6 ส่งผลให้สุขภาพของผู้สูงอายุดีขึ้นและสามารถดำรงชีวิตในชุมชนได้ปกติ

กิจกรรที่ 5 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด2 กรกฎาคม 2567
2
กรกฎาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลชะรัด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมการอบรมโครงการ จำนวน 60 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมที่ 5-6 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด และติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน ในครั้งนี้จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 พบว่าผู้สูงอายุมีความสนใจและเข้าใจถึงกระบวนการดูแลสุขภาพโดยการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด ในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง และบุคคลรอบข้างได้ ซึ่งการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดในครั้งนี้ผู้สูงอายุยังได้เรียนรู้ถึงกิจกรรมต่างๆที่สามารถประยุกต์ในชิวิตประจำวันของตนเองได้ ซึ่งในการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดทางผู้จัดได้นำเสนอในรูปแบบการฝีกลมหายใจประกอบท่าทางที่ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพในยามว่าง เช่นการใช้เพลงลทมหายใจเข้าออก ของธรรมะเสถียร เพื่อกระตู้นให้ผู้สูงอายุมีสธิการฝึกช่วงการหายใจและประกอบด้วยท่าทางที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุในการทำกิจกรรม ซึ่งผลการฝึกด้วยดนตรีบำบัดครั้งที่ 1 มีผู้สูงอายสามารถเข้าใจและปฏิบัติได้ จำนวน 60 คน  คิดเป็นร้อยละ 100.00 และในกิจกรรมที่ 2 เป็นการฝึกการยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยฤาษีคัดตน 15 ท่า พร้อมกับใช้เสียงเพลงประกอบ ในการฝึกอารมณ์และสมาธิ ซึ่งท่าที่ใช้ในการฝึกครั้งนี้ มีแค่ 8 ท่า เพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ โดยการฝึกในกิจกรรมที่ 2 พบว่าจากจำนวน 60 คน มีผู้สาสามารถปฏิบัติได้ จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 และกิจกรรมที่ 3 คือการใช้ท่าทางการรำในการประกอบกิจกรรมเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเป็นกิจกรรมที่สามารถช่วยลดความเครียดในตัวเองและสร้างกิจกรรมกลุ่มในชุมชน โดยกิจกรรมนี้ มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน และสามารถปฏิบัติได้จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00

กิจกรรมที่ 3 สาธิตการออกกำลังกาย"ขยับกายผู้สูงอายุด้วยไม้พลอง"2 มิถุนายน 2567
2
มิถุนายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลชะรัด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมการออกกำลังกาย จำนวน 60 คน 2.ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ด้วยไม้พลองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย 3.วิทยากรสามารถถ่ายทอดความรู้วิธีการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายด้วยไม้พลองที่เหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 การสาธิตการออกกำลังกาย ในครั้งนี้จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 91.66 พบว่าผู้สูงอายุมีความสนใจและเข้าใจถึงกระบวนการออกกำลังกายด้วยไม้พลองที่ถูกต้อง สามารถนำไปใช้ในการออกกำลังกายด้วยตนเองได้ 2.ผู้สูงอายุได้รับความรู้การออกำลังกายด้วยไม้พลอง จากนายกรณ์ รัตนนท์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน วิทยากรการสอนออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ซึ่งการออกกำลังกายครั้งนี้เป็นการสอนให้ผู้สูงอายุทุกคนมีความเข้าใจที่ถูกต้องถึงหลักการเคลื่อนไหวของร่างกาย และการขยับกายด้วยไม้พลอง เพื่อลดอาการปวดตึงของกล้ามเนื้อและลดภาวะเครียดในร่างกาย ทั้งนี้การสาธิตการออกกำลังไม้พลองจะประกอบไปด้วย ท่าต่างๆในการขยัร่างกาย ได้แก่ ท่าวอมอัพ ท่าขยับปลายเท้า ท่าขยับแขน ท่าขยับข้อเข่า และท่าขยับทุกส่วยของร่างกาย เพื่อให้ผู้สูงอายุปฎิบัติได้ด้วยตนเองแบบเรียบง่าย ซึ่งกิจกรรมการสาธิตจะบอกถึงเวลาที่ใช้การออกกำลังกายที่เหมาะสม เช่น เริ่มจากเบา ประมาณ 15 นาที ต่อด้วยเร็วขึ้นประมาณ 15 นาที และเบาลงเพื่อให้ร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ 10 นาที ในการสาธิตครั้งจะใช้ไม้พลองเป็นอุปกรณ์ในการยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ โดยหลังจากการสาธิตผู้สูงอายุสามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง และสามารถสอนให้ผู้อื่นได้อีกด้วย ซึ่งการออกกำลังกายครั้งนี้คิดเป็นร้อยความสำเร็จในการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ร้อยละ 91.66 การจำนวน 55 คน ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด 3.ผู้สูงอายุที่ได้รับการสาธิตการออกกำลังกายในครั้งนี้ สามารถเป็นผู้นำการออกกำลังกายได้และนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาตนเองในการฝึกฝนตนเองได้อีกต่อไป ซึ่งการผู้สูงอายุที่สามารถนำไปสาธิตให้คนอื่นได้ในครั้งมีมีจำนวน 5 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 9.09 จากจำนวนผู้เข้าร่วมการออกกำลังกายทั้งหมด

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตและส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย14 พฤษภาคม 2567
14
พฤษภาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลชะรัด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

08.30-09.00 น ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานเปิดโครงการ นายสุวรรณี ยาชะรัด นายกเทศบาลชะรัด 09.30-10.30 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิต โดยนางนันธิญา เดชอรัญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 10.30-12.00 น. อบรมการให้ความเกี่ยวกับกินอาหารให้เป็นยาและโภชนาการที่ถูกต้องในกลุ่มผู้สูงอายุ โดย นายกรณ์ รัตนนท์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยนายวิจิตร์ ดำประสิทธิ์
14.00-15.30 น. ประเมินแบบสอบถามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้า 15.30-16.00 น. ปิดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เข้าใจการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตเพิ่มมากขึ้น 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เข้าใจกินอาหารให้เป็นยาและโภชนาการเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งได้เรียนรู้การประกอบอาหารที่เมนูสุขภาพกับตนเองในการดำเนินชีวิต 3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำพันธุ์พืชไปปลูกเพื่อใช้ในการประกอบอาหารที่ดีต่อสุขภาพ 4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ และประเมินแบบสอบถามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้า

กิจกรรที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 129 เมษายน 2567
29
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านชะรัด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประธานแจ้งที่ประชุม 2.คณะกรรมการแจ้งเรื่องการดำเนินงานต่างๆในแต่ละกิจกรรม 3.ซักถามรายละเอียดต่าง 4.ปิดการประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.การชี้แจงการดำเนินโครงการให้คณะกรรมการในโครงการรับทราบ 2.ประธานชมรมแจ้งรายละเอียดการดำเนินแต่ละบุคคลให้ทราบ พร้อมให้ทุกคนใรชมรมเข้าใจการดำเนินงานของโครงการ 3.คณะกรรมการโครงการตกลงการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไปในวันที่ 14 พค 67 เวลา09.00-16.00น.ณ ห้องประชุมรพ.สต.บ้านชะรัด 4.ประธานแจ้งการออกกฎระเบียบกิจกรรมต่างๆในชมรมรับทราบ 5.ให้คณะกรรมการซักถามการดำเนินที่สงสัยการทำงานในครั้งต่อไป เพื่อแก้ไขการดำเนินงาน 6.ประธานปิดการประชุม